Page 9 - จุลสาร 64_4
P. 9
สัดส่วนบุหรี่ที่มิได้เสียภาษีที่พบในแต่ละจังหวัด
% ของกลุ่มตัวอย่างที่เก็บในจังหวัดนั้น ๆ
สงขลา 77.50%
สตูล 71.20%
พัทลุง 69.00%
ระนอง 19.00%
สุราษฎรธานี 13.50%
์
ภูเก็ต 9.80%
นครศรธรรมราช 7.80%
ี
ตัวอย่างทั้งหมด 6.20%
จากผลการส ารวจดังกล่าว ได้ประมาณการว่าบุหรี่ที่มิได้เสียภาษีในประเทศไทย สัดส่วน 6.2% นั้น
ั
ท าให้ภาษีรวมที่รัฐบาลต้องสูญเสียคิดเป็นเงินหลายพนล้านบาทต่อปี ซึ่งเป็นจ านวนเงินที่สูงและมีความส าคัญ
ในการช่วยกระตุ้นฟื้นฟูเศรษฐกิจภายใต้วิกฤตกาลการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ณ ปัจจุบัน
รายงานส ารวจดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่า การค้าบุหรี่ผิดกฎหมายในรูปแบบบุหรี่หนีภาษีไม่ปิดแสตมป์
ื้
เป็นปัญหารุนแรงในภาคใต้ โดยเฉพาะในพนที่ภาคใต้ตอนล่างที่มีพรมแดนติดกับประเทศเพอนบ้านทั้งทางบก
ื่
ั
และทางทะเล ซึ่งสอดคล้องกบรายงานของศูนย์วิจัยและการจัดการความรู้เพอการควบคุมยาสูบที่เผยแพร่ทาง
ื่
สื่อมวลชน ที่พบว่าปัญหาบุหรี่เถื่อนผิดกฎหมายมีความรุนแรงมากในกลุ่มเด็กและเยาวชนทั่วประเทศ
เนื่องจากราคาถูกและเข้าถึงง่าย โดยแหล่งที่ถูกลักลอบเข้ามาในประเทศส่วนใหญ่เป็นพนที่แนวชายแดน
ื้
่
ั
ั
ภาคใต้ของไทย โดยใช้การขนส่งทางเรือทั้งฝั่งอาวไทยและอนดามันรวมทั้งหมด 4 จังหวัด จุดพกสินค้าอยู่ที่
จังหวัดระนองร้อยละ 34 จังหวัดสงขลาร้อยละ 72 จังหวัดสตูลร้อยละ 65 และจังหวัดพัทลุงร้อยละ 60
บุหรี่ผิดกฎหมายในอกรูปแบบหนึ่งที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ที่ท าให้รัฐต้องสูญเสียรายได้ภาษีไปเป็น
ี
จ านวนมากก็คือ บุหรี่ปลอม ซึ่งสถานการณ์การปลอมแปลงบุหรี่ของการยาสูบแห่งประเทศไทยที่
กรมสรรพสามิต สามารถจับกุมได้มากจะเกิดขึ้นแถวชายแดนภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
รวมทั้งกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล และคาดว่าแหล่งปลอมแปลงบุหรี่ของการยาสูบแห่งประเทศไทย
ตั้งอยู่ในประเทศเพื่อบ้านที่มีชายแดนติดต่อกับประเทศไทยในภาคตะวันออก
มูลเหตุจูงใจที่ท าให้เกิดบุหรี่ผิดกฎหมายขึ้นในประเทศไทย
1. ความแตกต่างของราคา บุหรี่ถูกกฎหมายกับบุหรี่ผิดกฎหมายแตกต่างกันมาก โดยราคาขายปลีก
บุหรี่ถูกกฎหมายจะมีราคาซองละ 50 - 100 บาท ในขณะที่บุหรี่ผิดกฎหมายประมาณซองละ 20 – 30 บาท
2. บุหรี่ปลอมแปลง บุหรี่ของการยาสูบแห่งประเทศไทย มีราคาถูก และปลอมแปลงได้ใกล้เคียงกับ
บุหรี่ของการยาสูบแห่งประเทศไทย ทั้งในด้านฉลาก ซอง และรสชาติของบุหรี่
3. รสชาติของบุหรี่ ผู้สูบบุหรี่ในทางภาคใต้ของไทยจ านวนมาก จะนิยมสูบบุหรี่ที่มีรสหวาน ซึ่งบุหรี่
รสดังกล่าว การยาสูบแห่งประเทศไทยไม่มีการผลิตออกจ าหน่าย
[7]