Page 100 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 100

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
ระดับปัญหาไปสู่สากลและแทรกแซงระหว่างประเทศ ทําาให้ผู้นําาทางการเมืองของทั้ง 2 ประเทศ มีการเปิดรับบทบาทของฝ่ายท่ีสามในข้ันตอนต่างๆ ของกระบวนการ สันติภาพไม่ว่าจะเป็นตัวกลางในการไกล่เกลี่ยความขัดแย้งหรือเข้าร่วมสังเกตการณ์ ระหวา่ งหรอื หลงั จากทาํา ขอ้ ตกลงกต็ าม โดยทงั้ รฐั บาลอนิ โดนเี ซยี และรฐั บาลฟลิ ปิ ปนิ ส์ ต่างมีความเห็นว่า ฝ่ายท่ีสามสามารถส่งเสริมศักยภาพของรัฐบาลในการยุติความขัด แยง้ ได้ ดงั นนั้ ผนู้ าํา ทางการเมอื งทงั้ 2 ประเทศจงึ มองวา่ การยกระดบั ปญั หาไปสสู่ ากล ในลักษณะเช่นน้ีเป็นคุณมากกว่าโทษต่อการแก้ปัญหา แต่ที่สําาคัญ ท้ังรัฐบาล อินโดนีเซียและรัฐฟิลิปปินส์ได้วางมาตรการป้องกันมิให้ฝ่ายท่ีสามได้กระทําาการใดๆ ทอี่ าจจะถอื เปน็ การลว่ งลา้ํา ตอ่ อาํา นาจหนา้ ทที่ ไี่ ดร้ บั มอบหมาย โดยการกาํา หนดบทบาท หน้าที่ของฝ่ายที่สามอย่างชัดเจนและเป็นลายลักษณ์อักษร
ดว้ ยเหตนุ ี้ รฐั บาลไทยจงึ ไมจ่ าํา เปน็ ตอ้ งกงั วลถงึ โอกาสในการยกระดบั ปญั หา ไปสู่สากลและ/หรือการแทรกแซงจากภายนอก เพราะเฉกเช่นเดียวกับกรณีของ อาเจะหแ์ ละมนิ ดาเนา สถานการณใ์ นพนื้ ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใตก้ าํา ลงั ดาํา เนนิ การอยู่ ภายใต้ 1) โครงสรา้ งระหวา่ งประเทศทมี่ กี ารใหค้ วามสาํา คญั กบั อาํา นาจอธปิ ไตยของรฐั (โปรดดูบทท่ี 2) ดังท่ีอดีตรองประธานาธิบดีนายยูซุฟ เคลลา ได้ตอกย้ําาว่า การ แทรกแซงกระทําาได้ภายใต้ 2 กรณีเท่าน้ัน ได้แก่ เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนข้ันร้าย แรง และเกิดกรณีพิพาทเรื่องดินแดน และ 2) ระเบียบภูมิภาค ซึ่งตอกยํา้าถึงอธิปไตย ของรัฐผ่านปทัสถานอาเซียนท่ีมีการยอมรับมานานนับทศวรรษ เช่น หลักการ ไม่แทรกแซง ในแง่น้ี สถานการณ์ในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ไม่มีอะไรพิเศษท่ีผิด แปลกไปจากกรณีของอาเจะห์หรือมินดาเนา
ดังน้ัน รัฐบาลไทยอาจจะพิจารณาถึงความเหมาะสมในการขยายบทบาท ของฝ่ายท่ีสามได้ เพราะต้ังแต่ปี 2547 รัฐบาลไทยได้มีการยอมรับบทบาทของฝ่ายท่ี สามทั้งท่ีเป็นรัฐ (เช่น มาเลเซีย) และตัวแสดงท่ีไม่ใช่รัฐ (เช่น HD Centre) ในการเป็น ตัวกลางหรืออําานวยความสะดวกในการพูดคุย แต่ยังไม่ได้เปิดโอกาสให้ฝ่ายที่สามได้ ทําางานในหน้าที่อื่น
90






























































































   98   99   100   101   102