Page 101 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 101

ตาราง 3.3
ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
การเปรียบเทียบบทบาทของตัวแสดงภายนอกในการสนับสนุน กระบวนการสันติภาพในอาเจะห์ มินดาเนาและพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดน ภาคใต้
 รัฐบาล
  ตัวกลาง ในการ ไกล่เกลี่ย
  หน่วยงานอื่นๆ เพื่อสนับสนุนการรักษาสันติภาพ
 อินโดนีเซีย
   HDC (2543-2545)
   Joint Forum ประกอบด้วยตัวแทน จากฝ่ายรัฐบาล กลุ่ม GAM และ HDC
    HDC (2545-2546)
 Joint Security Committee (JSC); Joint Council ประกอบดว้ ย พลเอก ซซู โิ ล บมั บงั ยโู ดโยโน (รัฐบาลอินโดนีเซีย) นายมาลิค มามูด (GAM สวเีดน)และนายมารต์ นิ กรฟิ ฟนิ ส์(MartinGriffiths) (HDC); คณะ Wise Men ประกอบด้วย ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ นายพลเรือ แอนโธนี่ ซินนี่
(US Marine General Anthony Zinni) จากสหรฐั ฯ อดตี เอกอคั รราชทตู ยโู กสลาเวยี นายบดู เี มยี ลอนคาร์ (Budimir Loncar) อดีตนักการการทูตสวีเดน นายเบน โซดาเบิร์ก (Bengt Soderberg) และ เซอร์เอริค เอฟเบอรี่ (Sir Eric Avebury)
    CMI (2547-2548)
   Aceh Monitoring Mission (AMM) ประกอบดว้ ย เจ้าหน้าที่ 200 คน จากสหภาพยุโรป และอีก 5 ประเทศจากกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
  91




















































































   99   100   101   102   103