Page 103 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 103
ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
ตาราง 3.3 การเปรียบเทียบบทบาทของตัวแสดงภายนอกในการสนับสนุน กระบวนการสันติภาพในอาเจะห์ มินดาเนาและพ้ืนที่จังหวัดชายแดน ภาคใต้ (ต่อ)
รัฐบาล
ตัวกลาง ในการ ไกล่เกลี่ย
หน่วยงานอื่นๆ เพื่อสนับสนุนการรักษาสันติภาพ
ไทย
มาเลเซีย (2548 และ 2556 เป็นต้นมา); อินโดนีเซีย (2551); องค์กร พัฒนาเอกชน ต่างๆ เช่น HD Centre
-
จากตาราง 3.3 จะเหน็ ไดว้ า่ เมอ่ื เปรยี บเทยี บระหวา่ งกระบวนสนั ตภิ าพของ อาเจะหแ์ ละมนิ ดาเนากบั กระบวนการสนั ตสิ ขุ ของพนื้ ทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใต้ เราจะ เห็นข้อแตกต่างสําาคัญอยู่ 2 ประการ
ประการแรก รัฐบาลไทยยังคงจําากัดบทบาทของฝ่ายท่ีสามอยู่ท่ีการอําานวย ความสะดวกในการพูดคุย ทั้งน้ีรัฐบาลไทยอาจจะต้องคําานึงถึงการรับมือกับ สถานการณใ์ นพนื้ ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใตใ้ นลกั ษณะเชงิ รกุ ทคี่ ลา้ ยคลงึ กนั กบั รฐั บาล อินโดนีเซีย โดยพิจารณาถึงวิธีการต่างๆ ที่มีความเหมาะสมต่อการรับมือกับสภาพ ปัญหาในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เช่น ขยายบทบาทหรือขอบเขตอําานาจของ ผู้อําานวยความสะดวกในการพูดคุย หรือการเพิ่มบทบาทของกับฝ่ายที่สามอื่นๆ เช่น การสงั เกตการณร์ ะหวา่ งหรอื หลงั จากทาํา ขอ้ ตกลง ซงึ่ เปน็ ขอ้ เรยี กรอ้ งประการหนง่ึ ของ กลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ อย่างกลุ่มบีอาร์เอ็น (Barisan Revolusi Nasional, BRN) อันที่จริง การสังเกตการณ์โดยฝ่ายที่สามเป็นภารกิจที่ประชาคมระหว่างประเทศ
93