Page 105 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 105

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
กระบวนการสันติภาพ การทําางานของคณะพูดคุย/เจรจา และนโยบาย ซึ่งเป็นปัญหา ประการหน่ึงในบริบทของประเทศไทยที่มีอุปสรรคในเร่ืองของความไร้เสถียรภาพ ทางการเมือง ดังน้ัน โจทย์สําาคัญ คือ การรับประกันความต่อเนื่องในการทําางานของ คณะพูดคุยสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมท้ังผู้อําานวยความสะดวกในการพูดคุย
แตท่ สี่ าํา คญั ทงั้ รฐั บาลอนิ โดนเี ซยี และรฐั บาลฟลิ ปิ ปนิ สไ์ ดย้ นื่ ขอ้ เสนอในการ กระจายอาํา นาจในรปู แบบทแี่ ตกตา่ งกนั ไป ซงึ่ ในบทตอ่ ไปจะพดู ถงึ กรณขี องอาเจะหใ์ น รายละเอียดรวมทง้ักรณไีอรแ์ลนดเ์หนือและอดตียโูกสลาเวยีจากความสําาเรจ็ในการ ยตุ คิ วามขดั แยง้ รฐั บาลไทยอาจจะนาํา ประสบการณข์ องทง้ั 2 กรณมี าประกอบในการ พิจารณาถึงการขยายหรือบทบาทของฝ่ายที่สาม และการเพ่ิมอําานาจในการต่อรอง ของคณะพูดคุยสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต้ (The Peace Dialogue Panel) เพ่ือ พัฒนาภารกิจทางด้านสันติสุขต่อไป
สรุป
บทนี้ได้มีการสร้างความกระจ่างเกี่ยวกับบทบาทของฝ่ายที่สามใน กระบวนการสนั ตภิ าพและโอกาสในการยกระดบั ปญั หาภายในประเทศไปสสู่ ากลและ การแทรกแซงในกจิ การภายในของรฐั ในกรณขี องความขดั แยง้ ในอาเจะหแ์ ละมนิ ดาเนา เหตุผลในการเลือกวิเคราะห์ 2 กรณีน้ี เน่ืองจากท้ัง 2 กรณีดังกล่าวเป็นพ้ืนที่ความขัด แย้งที่ดําาเนินการมานานนับทศวรรษ แต่รัฐบาลประสบความสําาเร็จในการยุติปัญหา ความขดั แยง้ กบั กลมุ่ ตดิ อาวธุ ในพนื้ ท่ี โดยการเปดิ โอกาสใหฝ้ า่ ยทสี่ ามทง้ั ทเี่ ปน็ รฐั และ ตัวแสดงท่ีไม่เป็นรัฐได้มีส่วนในการสนับสนุนกระบวนการสันติภาพ
ขอ้ เหมอื นของทงั้ 2 กรณคี อื ฝา่ ยการเมอื งทส่ี นบั สนนุ กระบวนการสนั ตภิ าพ ไม่ได้กังวลต่อการยกระดับปัญหาไปสู่สากล ท้ังๆ ที่ในกรณีฟิลิปปินส์ กลุ่ม MNLF เป็นฝ่ายยกระดับปัญหา โดยขอการสนับสนุนทางด้านอาวุธจากรัฐซาบาร์และลิเบีย รวมทงั้ ขอการสนบั สนนุ ทางการทตู จาก OIC แตห่ ลงั จากนนั้ รฐั บาลฟลิ ปิ ปนิ สไ์ ดด้ าํา เนนิ กระบวนการสันติภาพอย่างต่อเน่ืองโดยอาศัย OIC และมาเลเซียเป็นตัวกลางในการ ไกล่เกลี่ย นอกจากนี้ ทั้งรัฐบาลฟิลิปปินส์และรัฐบาลอินโดนีเซียไม่ได้กังวลในการ
95




























































































   103   104   105   106   107