Page 106 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 106

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
นยิ ามปญั หาวา่ เปน็ “ความขดั แยง้ ” อกี ทงั้ ไมไ่ ดก้ งั วลถงึ ผลกระทบทอี่ าจจะเกดิ ขนึ้ จาก การใช้ช่ือเรียกอย่างเป็นทางการของกลุ่มติดอาวุธต่างๆ ซึ่งเห็นได้จากการระบุถึงชื่อ กลุ่มติดอาวุธในเอกสารท่ีเป็นข้อตกลงระหว่างทั้ง 2 ฝ่าย หรือการสัมภาษณ์ออกสื่อ ของผนู้ าํา สงิ่ ทนี่ า่ สนใจคอื รฐั บาลฟลิ ปิ ปนิ สไ์ ดม้ กี ารพาดพงิ ถงึ กฎหมายทางมนษุ ยธรรม ระหว่างประเทศในข้อตกลงบางฉบับ แต่ไม่ปรากฏผลว่า มีประเทศใดหรือองค์การ ระหวา่ งประเทศใดมกี ารแทรกแซงอาํา นาจอธปิ ไตยของประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ สว่ นหนงึ่ ทงั้ อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์มีการเน้นยํา้ามาโดยตลอดว่า ความขัดแย้งเป็นเร่ืองภายใน ประเทศ นอกจากนี้ ทงั้ รฐั บาลอนิ โดนเี ซยี และรฐั บาลฟลิ ปิ ปนิ สต์ ระหนกั ดวี า่ โครงสรา้ ง ระหว่างประเทศยังคงให้ความสําาคัญกับอําานาจอธิปไตยของรัฐตามหลักการเวสต์ ฟาเลีย
ขอ้ แตกตา่ งทสี่ าํา คญั คอื รฐั บาลอนิ โดนเี ซยี มกี ารแกไ้ ขความขดั แยง้ ในลกั ษณะ เชงิ รกุ โดยไมไ่ ดร้ อใหฝ้ า่ ยกลมุ่ ตดิ อาวธุ ยกระดบั ปญั หาไปสสู่ ากลเหมอื นกบั ในกรณขี อง ฟิลิปปินส์ ในการดําาเนินการเช่นน้ีทําาให้รัฐบาลอินโดนีเซียสามารถรักษาอําานาจรัฐใน การควบคมุ ปญั หา นอกจากนี้ ปจั จยั สง่ เสรมิ สนั ตภิ าพอกี ประการหนงึ่ คอื บรรยากาศ ที่เป็นประชาธิปไตยของประเทศอินโดนีเซียที่เอื้อต่อการย่ืนข้อเสนอในการตั้งเขต ปกครองตนเอง และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของฝ่ายที่สามในกระบวนการสันติภาพ อย่างต่อเน่ือง
96































































































   104   105   106   107   108