Page 12 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 12

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
ประชาคมระหวา่ งประเทศจงึ ไดส้ รา้ งหลกั การและมาตรการเพอื่ ปอ้ งกนั ผลกระทบจาก ความขัดแย้งทางอัตลักษณ์และชาติพันธุ์ทั้งที่เป็นภัยต่อความมั่นคงของมนุษย์และ ต่อความมั่นคงระหว่างประเทศ (International Security) หลักการและมาตรการ เหลา่ นไี้ ดส้ ะทอ้ นใหเ้ หน็ อยา่ งเปน็ รปู ธรรมในกฎหมายระหวา่ งประเทศและการพฒั นา แนวคดิ ใหมๆ่ เพอื่ นาํา ไปใชร้ ว่ มกนั ภายในประเทศสมาชกิ ในประชาคมระหวา่ งประเทศ อาทิ กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (International Humanitarian Law, IHL)และหลกั การความรบั ผดิ ชอบในการปกปอ้ ง(ResponsibilitytoProtect,R2P) เปน็ ตน้ พฒั นาการเหลา่ นไี้ ดส้ รา้ งความกงั วลแกร่ ฐั ตา่ งๆ ถงึ โอกาสทตี่ วั แสดงภายนอก (External Actors) จะเข้ามาแทรกแซงกิจการภายในของรัฐ ทั้งนี้ ผลกระทบจาก โครงสร้างระหว่างประเทศต่ออําานาจอธิปไตยของรัฐอาจจะพิจารณาได้จาก 2 ด้าน ด้วยกัน
ในด้านหนึ่ง กฎหมายและหลักการระหว่างประเทศได้เปิดช่องในการ แทรกแซงอําานาจอธิปไตยของรัฐ (Intervention) เพื่อคุ้มครองชีวิตมนุษย์ในยาม สงคราม เช่น อนุสัญญาเจนีวา (Geneva Conventions) ทั้ง 4 ฉบับ เป็นสนธิสัญญา ระหว่างประเทศที่มีประเทศต่างๆ ลงนามรวมทั้งหมด 196 ประเทศ ซึ่งมีส่วนสําาคัญ ในการ “ปกป้องคุ้มครองเหล่าผู้คนที่มิได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการสู้รบ (เช่น พลเรือน, บุคลากรทางการแพทย์ และกลุ่มผู้ทําางานเพื่อการช่วยเหลือต่างๆ) รวมทั้งผู้ที่ไม่ สามารถรว่ มการสรู้ บไดอ้ กี ตอ่ ไป (เชน่ ทหารผบู้ าดเจบ็ เจบ็ ปว่ ย ทหารเรอื อปั ปาง และ เชลยสงคราม)”5 อนุสัญญาเจนีวาเป็นส่วนสําาคัญของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่าง ประเทศ ซงึ่ มวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการ “จาํา กดั วธิ กี ารทาํา สงครามและการสรู้ บ รวมทง้ั ยงั มงุ่ จําากัดผลกระทบของความขัดแย้งทางอาวุธอีกด้วย”6 อีกทั้งยังป้องปรามการทําาร้าย ซ่ึงกันและกันระหว่างมนุษย์ไม่ว่าผู้กระทําาจะเป็นฝ่ายรัฐหรือตัวแสดงท่ีไม่ใช่รัฐก็ตาม นอกจากนี้ โครงสร้างระหว่างประเทศยังมีส่วนประกอบที่เป็นหลักการท่ีสมาชิก สหประชาชาตใิ หก้ ารยอมรบั แตไ่ มไ่ ดม้ สี ถานะเปน็ กฎหมายจงึ ไมม่ ผี ลผกู พนั ใหร้ ฐั ตา่ งๆ
5 “อนุสัญญาเจนีวา 1949,” ICRC Blog, https://blogs.icrc.org/th/2016/07/07/1949/ 6 Ibid.
 2






























































































   10   11   12   13   14