Page 14 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 14
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
อธิปไตยของรัฐตามหลักการเวสต์ฟาเลีย (Westphalian Sovereignty)7 เช่น หลักการไม่แทรกแซงกิจการภายใน ซึ่งมีการระบุในกฎบัตรสหประชาชาติ (UN Charter) และกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยเป็นอีก หนึ่งปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งทางอัตลักษณ์ และชาติพันธุ์ แน่นอนว่า ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีต้นตอ มาจากปจั จยั ภายในประเทศ และการกอ่ เหตรุ นุ แรงสว่ นใหญจ่ าํา กดั อยใู่ นทพี่ น้ื ทจี่ งั หวดั ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และ 4 อําาเภอของจังหวัดสงขลา อย่างไรก็ดี สถานการณ์ ความไมส่ งบทเี่ กดิ ขนึ้ ในพน้ื ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใตม้ โี อกาสทจี่ ะไดร้ บั ความสนใจจาก ทั้งตัวแสดงที่เป็นรัฐ (State Actors) และตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐ (Non-state Actors) ตา่ งๆ ในประชาคมระหวา่ งประเทศจนอาจทาํา ใหส้ ถานการณถ์ กู ยกระดบั ไปสสู่ ากล ใน ที่นี้ การยกระดับไปสู่สากล หมายถึง การกระทําาใดๆ ที่ทําาให้ปัญหาความขัดแย้ง ภายในประเทศได้รับความสนใจจากตัวแสดงภายนอกประเทศ จนทําาให้ตัวแสดง ภายนอกมีส่วนเกี่ยวข้องกับปัญหาความขัดแย้งในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง อย่างไร ก็ดี ส่วนเกี่ยวข้องกับปัญหาอาจจะยังอยู่ในขอบเขตที่ไม่ได้เป็นการละเมิดอําานาจรัฐ (State Authority) หรือก้าวก่ายในกระบวนการตัดสินใจของรัฐ (Decision-making process) การยกระดับไปสู่สากลจึงมีความแตกต่างจากการแทรกแซงระหว่าง ประเทศ ซึ่งเป็นการกระทําาใดๆ โดยตัวแสดงภายนอกที่มีการแทรกแซงอําานาจรัฐ ในการตัดสินใจอันมีผลต่อกิจการภายในอาณาเขตของรัฐ
7 สนธิสัญญาเวสต์ฟาเลีย (Westphalia) ในปี ค.ศ. 1648 ทําาให้เกิด “รัฐสมัยใหม่” (Modern state) ที่มีการเคารพอําานาจอธิปไตยโดยเบ็ดเสร็จ (Absolute Sovereignty) และเป็นที่การ ยอมรับในประชาคมระหว่างประเทศ
4