Page 16 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 16

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
การส่งเสริมกระบวนการสันติภาพ ในลักษณะเช่นนี้ การยกระดับไปสู่สากลจึงมาจาก ความสมัครใจของฝ่ายรัฐที่ต้องการยุติความขัดแย้งที่เกิดขึ้นภายในอาณาเขตของรัฐ การริเริ่มโดยรัฐในลักษณะนี้จึงไม่ถือว่าเป็นการแทรกแซงอําานาจอธิปไตยของรัฐ นอกจากนี้ จากตวั อยา่ งของกระบวนการสนั ตภิ าพทเี่ กดิ ขนึ้ ในปจั จบุ นั จะเหน็ ไดว้ า่ โดย ส่วนใหญ่มักจะมีฝ่ายที่สามที่เป็นตัวแสดงทั้งที่เป็นรัฐและไม่ใช่รัฐเข้ามามีบทบาทใน การไกล่เกลี่ยและ/หรือทําาหน้าในการรักษาสันติภาพหลังจากมีข้อตกลง ที่สําาคัญ กิจกรรมเหล่านี้มีความสอดคล้องกับระเบียบโลกที่อิงกับแนวคิดเสรีนิยม (Liberal World Order) และนําาไปสู่ผลลัพธ์เชิงบวกในการยุติปัญหาความขัดแย้งระหว่างฝ่าย รัฐบาลและกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ
เนื่องจากโครงสร้างระหว่างประเทศมีส่วนสําาคัญในการกําาหนดพฤติกรรม ของตัวแสดง งานศึกษานี้จึงเล็งเห็นความสําาคัญของการศึกษาโครงสร้างระหว่าง ประเทศอันหมายรวมถึงบรรทัดฐาน (Norms) กฎหมาย (Laws) และสถาบัน (Institutions) ที่จะเป็นการเอื้อและจําากัดการกระทําาใดๆ ของตัวแสดงที่มีเจตนาใน การสง่ เสรมิ การยกระดบั ปญั หาจงั หวดั ชายแดนภาคใตไ้ ปสสู่ ากลหรอื แทรกแซงอาํา นาจ อธิปไตยของประเทศไทย คําาถามหลักของการศึกษานี้ ได้แก่
1. สถานการณ์ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เข้าข่ายเป็นการขัดแย้งทาง อาวุธที่ไม่ใช่ระหว่างประเทศ (Non-international Armed Conflicts, NIACs) ตาม คาํา นยิ ามในกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศหรอื ไม่ และการใชค้ าํา อนื่ ๆ เรยี กแทน “สถานการณ์” และ “กลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ” มีผลในการส่งเสริมการยกระดับปัญหา ไปสู่สากลและการแทรกแซงอําานาจอธิปไตยของรัฐหรือไม่
2. การเปิดโอกาสให้ฝ่ายที่สาม (Third Party) ได้เข้ามาสนับสนุนขั้นตอน ต่างๆ ของกระบวนการสันติภาพจะมีผลก่อให้เกิดการยกระดับปัญหาไปสู่สากลและ การแทรกแซงอําานาจอธิปไตยของรัฐหรือไม่
3. โครงสร้างระหว่างประเทศมีการสร้างเงื่อนไขหรือบังคับให้รัฐที่ประสบ กับความขัดแย้งภายในต้องมีการกระจายอําานาจการปกครองหรือไม่ การจัดสรรและ
6




























































































   14   15   16   17   18