Page 17 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 17

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
การกระจายอาํา นาจการปกครองในฐานะเปน็ เครอื่ งมอื ในการบรรเทาสถานการณค์ วาม ไม่สงบจะมีผลทําาให้เกิดการแบ่งแยกดินแดนหรือไม่
โดยมีวัตถุประสงค์ในการวิจัยดังต่อไปนี้
1. เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโครงสร้างระหว่างประเทศที่จะ ส่งผลจําากัดหรือส่งเสริมการยกระดับปัญหาไปสู่สากลและการแทรกแซงอธิปไตยของ ประเทศไทย
2. เพื่อสร้างความกระจ่างผ่านการศึกษาจากกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีความ หลากหลาย
3. เพอื่ เสนอขอ้ มลู และขอ้ เทจ็ จรงิ อนั เปน็ สว่ นประกอบในการตดั สนิ ใจของ ผู้กําาหนดนโยบายในการแก้ปัญหาความขัดแย้งในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้
การทบทวนวรรณกรรม
ส่วนใหญ่วรรณกรรมทางวิชาการมักเน้นวิเคราะห์เก่ียวกับปัญหาในพื้นท่ี จงั หวดั ชายแดนภาคใตใ้ นมติ ขิ องปญั หาภายในประเทศ จรงิ อยทู่ ปี่ ญั หาในพนื้ ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใตเ้ ปน็ ปญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ ภายในอาณาเขตของราชอาณาจกั รไทย ซงึ่ ตวั แสดง ภายนอกไม่สามารถเข้ามาก้าวลํา้าในอธิปไตยของประเทศได้ แต่ในอีกแง่มุมหนึ่ง ใน ฐานะท่ีประเทศไทยเป็นตัวแสดงที่เป็นรัฐและมีการปฏิสัมพันธ์กับตัวแสดงอ่ืนๆ ใน ประชาคมโลกภายใต้โครงสร้างระหว่างประเทศ ซึ่งอยู่บนฐานของแนวคิดเสรีนิยม ทาํา ใหโ้ ครงสรา้ งระหวา่ งประเทศในปจั จบุ นั มผี ลตอ่ สถานการณใ์ นพนื้ ทจี่ งั หวดั ชายแดน ภาคใต้และอําานาจอธิปไตยของประเทศไทยไม่มากก็น้อย ดังนั้น ผู้จัดทําาจึงเห็นความ สาํา คญั ของการศกึ ษาปญั หาในพนื้ ทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใตจ้ ากมติ ริ ะหวา่ งประเทศ แต่ เปน็ ทน่ี า่ เสยี ดายวา่ วรรณกรรมทศ่ี กึ ษาเกย่ี วกบั ปญั หาในพนื้ ทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใต้ จากมิติระหว่างประเทศยังมีจําานวนน้อยมาก และที่สําาคัญยังไม่มีการศึกษาปัญหาใน พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ในฐานะที่เป็นปัญหาภายในประเทศที่ดําาเนินอยู่ภายใต้ โครงสรา้ งระหวา่ งประเทศ ซงึ่ การศกึ ษาในประเดน็ นไี้ มเ่ พยี งแตจ่ ะมปี ระโยชนส์ าํา หรบั
7


























































































   15   16   17   18   19