Page 15 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 15
ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
ปัจจัยที่ทําาให้ปัญหาความขัดแย้งภายในถูกยกระดับไปสู่สากลและ ถูกแทรกแซงจากตัวแสดงระหว่างประเทศ
ความสนใจของประชาคมระหว่างประเทศต่อความขัดแย้งภายในอาจ มีสาเหตุหลายประการด้วยกัน ซึ่งอาจนําามาสู่การกระทําาที่ถือว่าเป็นการแทรกแซง อาํา นาจอธปิ ไตยของรฐั อาทิ กลมุ่ ผเู้ หน็ ตา่ งจากรฐั (คขู่ ดั แยง้ ) อาจจะมคี วามจงใจทจี่ ะ ยกระดับปัญหาไปสู่สากลโดยการสื่อสารกับตัวแสดงภายนอกโดยตรง เพื่อขอการ สนับสนุนด้านต่างๆ อาทิ การสนับสนุนทางอาวุธ หรือการฝึกฝนทางยุทธวิธีเพื่อ ประโยชน์ของการต่อสู้ในความขัดแย้งนั้นๆ ดังที่ กลุ่มติดอาวุธในอาเจะห์เคยได้รับ การสนับสนุนจาก มูอัมมาร์ กัดดาฟี (Muammar Gaddafi) เป็นต้น รวมถึง การสนับสนุนจากฝ่ายที่สาม (Third Party) และ/หรือ ประชาคมระหว่างประเทศที่ อาจจะมีความสนใจโดยตรงต่อสถานการณ์ความขัดแย้ง เนื่องด้วยเหตุผลทาง มนษุ ยธรรม (Humanitarian Concerns) ดงั เชน่ กรณที ปี่ ระชาคมระหวา่ งประเทศให้ ความสนใจต่อสถานการณ์ในโคโซโวและติมอร์ตะวันออกในช่วงปลายทศวรรษ 2533 อันก่อให้เกิดการตัดสินใจเข้าแทรกแซงทางด้านมนุษยธรรมตามมา
นอกจากนี้ ยังมีความเป็นไปได้เช่นกันที่ฝ่ายที่สามจะเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง ต่อสถานการณ์ความไม่สงบด้วยเหตุผลทางการเมือง เพื่อหวังสร้างความปั่นป่วนให้ กับรัฐที่เผชิญปัญหาความขัดแย้ง ดังเช่นที่มาเลเซียเคยให้การสนับสนุนกับกลุ่มติด อาวุธในมินดาเนาในประเทศฟิลิปปินส์ สืบเนื่องจากการที่มาเลเซียกําาลังมีข้อพิพาท กบั ประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ ในกรณเี กาะซาบาร์ หรอื การทปี่ ระเทศจนี ยงั คงใหก้ ารสนบั สนนุ กบั กองทพั รวมแหง่ รฐั วา้ (United Wa State Army, UWSA) เพอื่ สรา้ งอาํา นาจตอ่ รอง ก บั ร ฐั บ า ล เ ม ยี น ม า แ ล ะ ร กั ษ า ค ว า ม ส ง บ ต ร ง บ ร เิ ว ณ ช า ย แ ด น จ นี - เ ม ยี น ม า เ ป น็ ต น้ ก ร ณ ี ศกึ ษาเหลา่ นนี้ บั ไดว้ า่ เปน็ เพยี งตวั อยา่ งบางสว่ นของการแทรกแซงอาํา นาจอธปิ ไตยของ รัฐที่อาจเกิดขึ้นได้
อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาถึงตัวอย่างของกระบวนการสันติภาพที่เกิดขึ้น ในอนุภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะเห็นได้ว่า การยกระดับปัญหาไปสู่สากลอาจ มาจากการริเริ่มของฝ่ายรัฐเอง เช่น การที่ฝ่ายรัฐเชิญให้ฝ่ายท่ีสามเข้ามามีบทบาทใน
5