Page 13 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 13

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
ต้องปฏิบัติตาม เช่น หลักการ R2P มีวัตถุประสงค์หลักในการให้ความคุ้มครอง ประชาชนที่ถูกกระทําาใน 4 รูปแบบ ได้แก่ การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) อาชญากรรมสงคราม (War Crimes) การกําาจัดชาติพันธุ์ (Ethnic Cleansing) และ อาชญากรรมตอ่ มวลมนษุ ยชาติ (Crimes against Humanity) ดงั ทเี่ คยปรากฏใหเ้ หน็ ในรวันดา โซมาเลีย และบอสเนีย เป็นต้น
ด้วยเหตุนี้ โครงสร้างระหว่างประเทศในปัจจุบันจึงอาจกลายเป็นปัจจัย ส่งเสริมให้กลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐกระทําาการใดๆ เพื่อเรียกร้องความสนใจจากตัวแสดง ต่างๆ ในเวทีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เพื่อหวังยกระดับปัญหาความขัดแย้งไปสู่ สากล (Internationalisation) อันเป็นการเปิดโอกาสให้ตัวแสดงภายนอกเข้ามา แทรกแซงอําานาจอธิปไตยของรัฐจนนําาไปสู่การสร้างรัฐใหม่ ในการนี้ ฝ่ายรัฐอาจจะ เกิดความกังวลว่า ตัวแสดงภายนอกเองจะใช้ช่องทางของกฎหมายและหลักการ ระหว่างประเทศเพื่อยกระดับปัญหา หรือแทรกแซงกิจการภายในของรัฐ ปัจจัย เหลา่ นไี้ ดก้ อ่ ใหเ้ กดิ ความกงั วลจากฝา่ ยรฐั ทตี่ อ้ งการรกั ษาอาํา นาจอธปิ ไตยเปน็ อยา่ งมาก จนบอ่ ยครงั้ ความกงั วลดงั กลา่ วไดก้ ลายเปน็ อปุ สรรคสาํา คญั ตอ่ การสง่ เสรมิ การดาํา เนนิ การตามมาตรการระยะยาว (Long Term Measures) ในการแก้ไขความขัดแย้ง ซึ่ง มีความจําาเป็นต้องอาศัยบทบาทของฝ่ายที่สามในการสนับสนุนขั้นตอนต่างๆ ของ กระบวนสนั ตภิ าพ อาทิ การพดู คยุ และมาตรการในการสรา้ งความเชอื่ มนั่ (Talks and Confidence Building Measures) การลดการเกิดเหตุรุนแรงและ/หรือ การเจรจา เพื่อสันติภาพ (Peace Negotiations) อันเป็นแนวทางสากลที่มีความสําาคัญต่อการ แก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองในรูปแบบต่างๆ
ในอีกด้านหนึ่ง กฎหมาย บรรทัดฐาน และหลักการระหว่างประเทศมีส่วน เอื้อต่อการกระทําาของฝ่ายรัฐ ภายใต้เงื่อนไขที่การกระทําาเหล่านั้นไม่ขัดต่อกฎหมาย มนุษยธรรมระหว่างประเทศ เช่น รัฐเป็นฝ่ายที่ผูกขาดทางกําาลัง (Monopoly of Force) แต่ที่สําาคัญ กฎหมายและข้อตกลงระหว่างประเทศเอื้อต่อการรักษาอําานาจ
3






























































































   11   12   13   14   15