Page 141 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 141

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
ลกั ษณะคลา้ ยคลงึ กนั มนิ ดาเนาเคยเปน็ สว่ นหนงึ่ ของอาณานคิ มของสเปนและสหรฐั ฯ เหมือนกับส่วนอ่ืนๆ ของประเทศฟิลิปปินส์
ดังน้ัน แม้ว่าประเทศไทยไม่เคยตกอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศ ตะวนั ตกมากอ่ น แตเ่ ขตแดนของประเทศไทยในปจั จบุ นั ไดถ้ กู กาํา หนดโดยขอ้ ตกลงและ การเจรจากับประเทศตะวันตก ทําาให้พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นส่วนหนึ่งของ ประเทศไทยตามสนธิสัญญาอังกฤษ-สยาม ปี 2452 (Anglo-Siamese Treaty of 1909) ดว้ ยเหตนุ ี้ พน้ื ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใตจ้ งึ ไมไ่ ดม้ อี ะไรแตกตา่ งจากพนื้ ทอ่ี นื่ ๆ ที่ มีปัญหาความไม่สงบ เช่น อาเจะห์ และมินดาเนา แต่ท่ีสําาคัญ ประชาคมระหว่าง ประเทศล้วนมีผลประโยชน์ร่วมกันในการไม่แทรกแซงกิจการภายในของกันและกัน รวมท้ังการปกป้องอําานาจอธิปไตยให้มีความศักดิ์สิทธ์ิต่อไป
อย่างไรก็ตาม แม้ว่าพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้จะไม่มีโอกาสท่ีจะเป็น เอกราช แตม่ หี ลายภาคสว่ นไดแ้ สดงความกงั วลตอ่ การกระจายอาํา นาจการปกครองไป สู่พ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้อยู่ดี เน่ืองจากหลายเหตุผลด้วยกัน เช่น การกระจาย อาํา นาจการปกครองเปน็ การขดั ตอ่ รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย หรอื อาจจะเปน็ ปจัจยัในการสร้างความเขม้แข็งใหก้ับพื้นทจี่ังหวดัชายแดนภาคใตม้ากจนเกนิไปทั้งน้ี รัฐบาลไทยหรือคณะพูดคุยสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต้อาจจะลองพิจารณาหลัก การ NTA ซ่ึงจะเป็นการเปิดช่องทางให้กลุ่มประชากรท่ีแตกต่างได้ปกครองตนเองใน ประเด็นหรือเร่ืองที่ความสําาคัญต่อสมาชิกของกลุ่ม (เช่น ศาสนาหรือวัฒนธรรม) ซึ่ง แนวทาง NTA เป็นการให้ความคุ้มครองที่กลุ่มคนไม่ใช่พื้นท่ี และอาจจะคลายความ กังวลของฝ่ายรัฐ นอกจากน้ี พื้นฐานของหลักการ NTA ยังมีความสอดคล้องกับ โครงสร้างระหว่างประเทศท่ีมีการให้ความสําาคัญต่อการปกป้องสิทธิของชนกลุ่มน้อย
131






























































































   139   140   141   142   143