Page 139 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 139

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
กลมุ่ ชนหลากหลายชาตพิ นั ธ์ุ เชน่ เดยี วกบั อดตี ยโู กสลาเวยี ทเี่ คยประสบความลม้ เหลว จนส่งผลให้ประเทศต้องล่มสลาย
จากกรณีศึกษาของยูโกสลาเวียและบรรดารัฐเกิดใหม่ที่แยกตัวจาก ยโู กสลาเวยี Sinisa Malesevic จงึ ไดช้ ชี้ วนใหก้ า้ วขา้ มขอ้ ถกเถยี งเดมิ วา่ โดยสรปุ แลว้ ระบอบสหพนั ธรฐั เปน็ รปู แบบทด่ี หี รอื ไมต่ อ่ การจดั การปกครองในสงั คมทม่ี คี วามหลาก หลายทางชาตพินัธ์ุและนาําเสนอขอ้ถกเถยีงใหม่วา่ขอ้ตกลงระหว่างสาธารณรัฐตา่งๆ ได้ถูกเจรจาบนพื้นฐานของความสมัครใจและตามวิถีทางของประชาธิปไตยหรือไม่ เพราะในบริบทของสังคมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์และมีความเป็น ประชาธิปไตยโดยแท้จริง ความแตกต่างทางชาติพันธุ์และสิทธิทางชาติพันธุ์ถือเป็น ส่วนหนึ่งของสิทธิร่วมและสิทธิปัจเจกของพลเมือง ดังน้ัน ข้อเรียกร้องร่วมเพื่อให้เกิด การยอมรับในสิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์และสิทธิทางวัฒนธรรมจึงพึงจะต้องได้รับการ ยอมรับ (Recognised) และยินยอมให้เกิดการบรรลุข้อตกลง (Accommodated) จากสังคม เพ่ือให้อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์นั้นๆ ยังคงเป็นเพียงส่วนหนึ่งของอัตลักษณ์ ของกลุ่ม/ปัจเจกท่ีมีความหลากหลายในสังคม ในทางตรงกันข้าม หากสังคมที่ไม่มี ความเป็นประชาธิปไตยในระดับท่ีเพียงพอ ปราศจากการมีพื้นท่ีทางการเมืองท่ีเปิด กว้างและยอมรับในความแตกต่างและสิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์ ดังเช่น กรณีของ ยโู กสลาเวยี กลมุ่ ชาตพิ นั ธท์ุ รี่ สู้ กึ วา่ กลมุ่ ตนถกู กดขจ่ี ากรฐั หรอื ชนกลมุ่ ใหญก่ จ็ ะเกดิ การ สร้างอัตลักษณ์ทางการเมือง (Political Identity) อย่างรวดเร็วเพ่ือตอบโต้กับการ ถูกกดขี่น้ันๆ อันนําาไปสู่ความขัดแย้งทางการเมืองภายในที่รุนแรงตามมา
พื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้มีโอกาสแบ่งแยกหรือไม่ในกรณีที่มีการ กระจายอําานาจการปกครองสู่พื้นท่ี
ถ้าทางการไทยตัดสินใจท่ีจะกระจายอําานาจการปกครองเพื่อบรรเทา สถานการณ์ พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้จะไม่มีโอกาสเป็นเอกราช แม้ว่ากลุ่มผู้เห็น ตา่ งจากรฐั ในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใตจ้ ะมกี ารยกเหตผุ ลของการเปน็ อสิ ระในอดตี และมีการกล่าวถึง “นักล่าอาณานิคมชาวสยาม (Siam Penjajahan) ท่ีเหยียบยํา่า
129





























































































   137   138   139   140   141