Page 138 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 138

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
หลายทางชาติพันธุ์และมีความเป็นปรปักษ์ต่อกัน หรือเป็นเพราะการจัดระเบียบการ ปกครองในรปู แบบสหพนั ธรฐั ทวา่ เปน็ เพราะยโู กสลาเวยี มไิ ดเ้ ปน็ สหพนั ธรฐั ทปี่ กครอง ดว้ ยระบอบประชาธปิ ไตยทแี่ ทจ้ รงิ ตา่ งหาก กลมุ่ ชนชนั้ นาํา ทางการเมอื งของยโู กสลาเวยี เพียงแค่ใช้การกระจายอําานาจเป็นเคร่ืองมือในการหลีกเล่ียงไม่ให้เกิดการปฏิรูปไปสู่ กระบวนการทาํา ใหเ้ ปน็ ประชาธปิ ไตย (Democratisation) และกระบวนการทาํา ใหเ้ ปน็ เสรีนิยม (Liberalisation) กล่าวคือ การจัดวางรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่าง สาธารณรัฐต่างๆ ในลักษณะการปกครองแบบกระจายอําานาจย่ิงขึ้น เป็นผลมาจาก การที่รัฐบาลกลางพยายามลดกระแสความกดดันจากระดับล่างที่เรียกร้องการมีส่วน รว่ มทางการเมอื งของมหาชน และตอ้ งการเรง่ กระบวนการทาํา ใหเ้ ปน็ ประชาธปิ ไตยให้ ก้าวหน้ายิ่งข้ึน ในการน้ี รัฐบาลกลางจึงกระจายอําานาจให้แก่ชนช้ันนําาของพรรค คอมมิวนิสต์ของแต่ละสาธารณรัฐมากย่ิงข้ึน แทนที่จะมอบอําานาจให้กับพลเมืองของ แต่ละสาธารณรัฐ ด้วยเหตุน้ี พรรคคอมมิวนิสต์จึงยังคงสงวนอําานาจผูกขาดในระบบ การเมืองของประเทศ ระบบการปกครองดังกล่าวจึงมิใช่การกระจายอําานาจท่ีแท้จริง แตเ่ ปน็ เพยี งการกระจายอาํา นาจแบบกงึ่ หนงึ่ (Quasi-Decentralisation) อนั กอ่ ใหเ้ กดิ การเชอ่ื มโยงกนั แบบหลวมๆ ระหวา่ งกลมุ่ ของสาธารณรฐั ตา่ งๆ ซงึ่ ตา่ งกม็ กี ารปกครอง แบบรวมศูนย์อําานาจเป็นอย่างสูงภายในหน่วยการปกครองเหล่านั้น58
ทั้งน้ี รูปแบบการกระจายอําานาจแบบ “ก่ึงหนึ่ง” ของยูโกสลาเวียยังได้รับ การสืบทอดต่อจากบรรดารัฐที่แยกตัวไปจากยูโกสลาเวียในเวลาต่อมา ไม่ว่ารัฐเหล่า นั้นจะจัดต้ังรูปแบบการปกครองแบบรัฐเด่ียว ดังเช่น โครเอเชียและมาซิโดเนีย หรือ สมาพันธรัฐ ดังเช่น บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาก็ตาม แต่รัฐเกิดใหม่เหล่าน้ี โดยพื้น ฐานแลว้ ยงั คงเปน็ รฐั ทไี่ รค้ วามมเี สถยี รภาพทางการเมอื งภายใน ชนชนั้ นาํา ทางการเมอื ง จงึ ตอ้ งพง่ึ พงิ นโยบายการกระจายอาํา นาจในฐานะทเ่ี ปน็ เพยี งทางเลอื กสดุ ทา้ ยทเี่ ปน็ ไป ได้ในการต่อสู้ทางอําานาจภายในประเทศ ด้วยเหตุผลข้างต้น รัฐเหล่าน้ีจึงต้องประสบ ปัญหานานัปการในการรักษาความมีเสถียรภาพทางการเมืองภายในท่ีประกอบด้วย
58 Malesevic,“EthnicityandFederalisminCommunistYugoslaviaandItsSuccessor States,” 149 – 150.
 128






























































































   136   137   138   139   140