Page 136 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 136
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
โครงสร้างการปกครองของสหพันธรัฐยูโกสลาเวียค่อยๆ เปล่ียนรูปกลายเป็น “สหพนั ธรฐั ทถี่ กู กอ่ ตงั้ ขนึ้ แบบหลวมๆ” และมคี ณุ ลกั ษณะหลายประการทเี่ ขา้ ขา่ ยการ เป็นรัฐแบบสมาพันธรัฐ (Confederal State) หรืออาจพิจารณาได้ว่าเป็นระบบการ ปกครองแบบกึ่งสมาพันธรัฐ (Quasi–Confederal System) ซึ่งเป็นการรวมตัวกัน ของกลุ่มหรือรัฐ “ท่ีมีอําานาจอธิปไตย”55
ตอ่ มาในชว่ งปี 2517-2530 กระบวนการกระจายอาํา นาจในระดบั มหภาคได้ ดําาเนินไปพร้อมกับการรวมศูนย์อําานาจในระดับจุลภาค โดยรัฐบาลกลางได้พยายาม รกั ษาความเปน็ เอกภาพของโครงสรา้ งการปกครองแบบกง่ึ สมาพนั ธรฐั ดงั กลา่ วตามวถิ ี ทางของระบอบการปกครองแบบอําานาจนิยม อย่างไรก็ตาม แม้ว่าวัตถุประสงค์หลัก ของการปฏิรูปโครงสร้างการปกครองแบบกระจายอําานาจของยูโกสลาเวีย คือ เพ่ือ มุ่งลดความหวาดระแวงของสาธารณรัฐต่างๆ ต่อความเป็นไปได้ที่จะเกิดการจัดต้ัง ระบบการปกครองท่ีครอบงําาอําานาจโดยกลุ่มเช้ือชาติเดียว การกระจายอําานาจการ ปกครองจึงคาดหวังว่าจะช่วยรักษาความมีเสถียรภาพ (Stability) ในความสัมพันธ์ ระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ในประเทศได้ แต่กระนั้นผลสะท้อนกลับอีกด้านหนึ่งของ การกระจายอาํา นาจการปกครองในระดบั สงู ใหก้ บั สาธารณรฐั ตา่ งๆ คอื การเกดิ ขน้ึ ของ กระบวนการกอ่ รา่ งเปน็ สมาพนั ธรฐั (Confederalisation) ของสหพนั ธรฐั ยโู กสลาเวยี ซ่ึงดําาเนินไปอย่างต่อเน่ืองโดยมิอาจย้อนกลับคืนสู่สถานภาพเดิมได้56 ท่ามกลาง การดําารงอยู่ของปัญหาการแยกส่วนของอําานาจหน้าท่ีทางการเมือง (Political Authority) การฟ้ืนคืนของขบวนการชาตินิยมที่เน้นความเป็นชาติพันธ์ุ การล่มสลาย ทางเศรษฐกจิ และการสญู เสยี ความชอบธรรมของรฐั บาลกลาง จนกระทงั่ นาํา ไปสกู่ าร แตกแยกเป็นส่วนๆ ของรัฐ (Disintegration) แบบค่อยเป็นค่อยไป นับต้ังแต่ปี 2530 เรื่อยมาจนกระท่ังถึงปลายปี 2534 ท่ียูโกสลาเวียล่มสลายลงอย่างเป็นทางการ และ ในชว่ งปี 2534-2538 บรเิ วณทเี่ ปน็ อดตี ยโู กสลาเวยี ตอ้ งประสบกบั ความขดั แยง้ ภายใน (Internal Conflict) หรืออาจนิยามได้ว่าเป็นสงครามกลางเมืองที่อยู่บนพ้ืนฐานของ
55 Malesevic “Ethnicity and Federalism in Communist Yugoslavia,” 310. 56 Job, Yugoslavia’s Ruin: The Bloody Lessons of Nationalism, 57.
126