Page 142 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 142
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
สรุป
ในบทนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการตอบ 2 คําาถามหลัก ได้แก่ 1) โครงสร้าง ระหว่างประเทศมีการบังคับหรือสร้างเงื่อนไขให้รัฐท่ีประสบกับความขัดแย้งภายใน ต้องกระจายอําานาจการปกครองเพ่ือบรรเทาสถานการณ์ความขัดแย้งหรือไม่ และ 2) การกระจายอําานาจจะนําาไปสู่การแตกแยกของรัฐหรือไม่
จากการวิเคราะห์คําาถามแรกจะเห็นได้ว่า โครงสร้างระหว่างประเทศไม่มี การบงั คบั หรอื สรา้ งเงอื่ นไขใหร้ ฐั ทม่ี คี วามหลากหลายตอ้ งกระจายอาํา นาจการปกครอง แตอ่ าจจะมอี งคก์ ารระหวา่ งประเทศทาํา หนา้ ทใ่ี นการสรา้ งความตระหนกั ถงึ การกระจาย อําานาจการปกครองในฐานะเป็นวิธีการประการหนึ่งในการบรรเทาความขัดแย้ง เหตุผลประการหนึ่งที่ทําาให้โครงสร้างระหว่างประเทศไม่สามารถบังคับต่อรัฐท่ีมี ประชากรท่ีมีความหลากหลาย ซ่ึงประสบกับปัญหาความไม่สงบได้ เนื่องจากรูปแบบ โครงสร้างอําานาจการปกครองเป็นสิทธิของรัฐเองท่ีจะเลือกวิธีการที่เหมาะสมในการ ปกครองของรัฐ และการกระจายอําานาจการปกครองเป็นเพียงเคร่ืองมือชนิดหน่ึงใน การบรรเทาความขัดแย้ง ซึ่งอาจจะมีหรือไม่มีความเหมาะสมกับบริบททางการเมือง และสงั คมในการบรรเทาความไมส่ งบกไ็ ด้ ดว้ ยเหตนุ ้ี รฐั บาลไทยจงึ ไมจ่ าํา เปน็ ตอ้ งกงั วล ถึงโอกาสที่ตัวแสดงภายนอกจะใช้ช่องทางกฎหมายในการยกระดับปัญหาหรือการ แทรกแซงจากภายนอก
ส่วนในการวิเคราะห์ประเด็นท่ีสอง บทนี้ถกเถียงว่า การกระจายอําานาจจะ ไมน่ าํา มาสกู่ ารแบง่ แยกประเทศถา้ การกระจายอาํา นาจการปกครองนน้ั มคี วามสอดคลอ้ ง กบั หลกั ประชาธปิ ไตย ซงึ่ จะเหน็ ไดจ้ ากประสบการณข์ องไอรแ์ ลนดเ์ หนอื และอาเจะห์ ทกี่ ารกระจายอาํา นาจสามารถบรรเทาความขดั แยง้ ไดจ้ รงิ ในทางกลบั กนั กรณขี องอดตี ยูโกสลาเวียนําามาสู่การล่มสลายของรัฐ เน่ืองจากมีการกระจายอําานาจการปกครอง ควบคู่กับการใช้นโยบายที่จําากัดสิทธิของชนกลุ่มน้อย ซึ่งในท่ีสุดนําามาสู่ความขัดแย้ง ทางอาวุธ แต่ท้ังน้ี การแตกแยกของประเทศหรือการเกิดประเทศใหม่จะมีข้ึนเฉพาะ ในกรณีท่ีมีความขัดแย้งในระดับสูง และไม่มีแนวโน้มที่ความขัดแย้งจะยุติลง ท่ีเป็น เชน่ นเี้ พราะโครงสรา้ งระหวา่ งประเทศยงั ใหค้ วามสาํา คญั กบั การปกปอ้ งอาํา นาจอธปิ ไตย
132