Page 144 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 144

บทที่ 5 สรุปประเด็นของการยกระดับปัญหาไปสู่สากลและการแทรกแซง อธิปไตยภายใต้โครงสร้างระหว่างประเทศ
หนังสือนี้มีวัตถุประสงค์หลักในการศึกษาโครงสร้างระหว่างประเทศ อันหมายรวมถึงบรรทัดฐาน กฎหมาย และสถาบัน ในฐานะที่เป็นกรอบในการ กาํา หนดการกระทาํา ของตวั แสดงตา่ งๆ ทงั้ ทเี่ ปน็ รฐั และไมใ่ ชร่ ฐั ภายในประชาคมระหวา่ ง ประเทศ โดยงานศกึ ษานมี้ งุ่ ใหค้ วามสนใจในโอกาสทตี่ วั แสดงภายนอกจะใชช้ อ่ งทางใน โครงสร้างระหว่างประเทศเพื่อยกระดับปัญหาไปสู่สากลและ/หรือการแทรกแซงใน สถานการณ์ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประเด็นนี้มีความสําาคัญ เพราะได้สร้าง ความกังวลต่อรัฐไทยเป็นอย่างมาก แต่ที่สําาคัญ ความกังวลเหล่านี้กลายเป็นอุปสรรค ประการหนึ่งต่อการหามาตรการระยะยาวในการแก้ไขความขัดแย้ง อาทิ การพูดคุย การลดการเกดิ เหตรุ นุ แรง รวมทงั้ การเจรจาเพอื่ สนั ตภิ าพ งานศกึ ษานไี้ ดน้ ยิ ามขอบเขต ของการยกระดับปัญหาไปสู่สากลว่าเป็นการกระทําาใดๆ ที่ทําาให้ปัญหาความขัดแย้ง ภายในประเทศได้รับความสนใจจากตัวแสดงภายนอกประเทศ จนทําาให้ตัวแสดง เหลา่ นมี้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งกบั ปญั หาความขดั แยง้ ในรปู แบบใดรปู แบบหนงึ่ โดยการมสี ว่ น เกี่ยวข้องกับปัญหาอาจจะไม่ได้เข้าข่ายว่าเป็นการละเมิดอําานาจรัฐ หรือก้าวก่ายใน กระบวนการตัดสินใจของรัฐ การยกระดับไปสู่สากลจึงมีความแตกต่างจากการ แทรกแซงระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นการกระทําาใดๆ โดยตัวแสดงภายนอกที่มีการ แทรกแซงอําานาจรัฐ
จากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแสดงทั้งที่เป็นรัฐและไม่ใช่รัฐ ซึ่ง ปฏิสัมพันธ์ภายใต้โครงสร้างระหว่างประเทศจากมุมมองของกรอบแนวคิดของ โครงสร้างและการกระทําาการนั้น พบว่า โดยรวมแล้ว 1) โครงสร้างระหว่างประเทศ เอื้อต่อฝ่ายรัฐมากกว่ากลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ เนื่องจากระบบระหว่างประเทศยังคงยึด หลักการเคารพอําานาจอธิปไตยของรัฐ (Sovereignty) เป็นสําาคัญ ซึ่งสะท้อนให้เห็น
































































































   142   143   144   145   146