Page 145 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 145

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
จากกฎหมาย ข้อตกลง และบรรทัดฐานระหว่างประเทศ อย่างเช่น หลักการไม่ แทรกแซงกิจการภายในของรัฐ และการยึดถือความเสมอภาคกันในอําานาจอธิปไตย ของทุกรัฐ (Sovereign equality) เป็นต้น 2) ด้วยเหตุน้ี ตัวแสดงภายนอกจึงไม่ สามารถเข้าแทรกแซงในปัญหาพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้ นอกจากจะมีเหตุ อนั ควร เชน่ ระดบั ของความรนุ แรงไดข้ ยายตวั ในวงกวา้ งจนถงึ ขน้ั ทต่ี วั แสดงภายนอก ต้องเริ่มถกเถียงถึงความจําาเป็นท่ีจะต้องใช้หลักการความรับผิดชอบในการปกป้อง (Responsibility to Protect, R2P) ในการระงบั เหตคุ วามรนุ แรงทบี่ านปลาย ซงึ่ เมอื่ พจิ ารณาถงึ สถานการณป์ จั จบุ นั ในพนื้ ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใตน้ บั วา่ ยงั เปน็ ไปไดย้ าก ที่จะเกิดความรุนแรงในระดับน้ัน และ 3) การยกระดับมักจะเกิดจากปัญหาความ รุนแรงที่มี “มิติระหว่างประทศ” หรือมีผลกระทบต่อความมั่นคงระหว่างประเทศ มากกว่าความตั้งใจของตัวแสดงภายนอกในการยกระดับปัญหาไปสู่สากล
ดว้ ยเหตนุ ี้ รฐั บาลไทยจงึ ไมจ่ าํา เปน็ ตอ้ งกงั วลถงึ โอกาสทตี่ วั แสดงภายนอกจะ ยกระดับปัญหาและ/หรือแทรกแซงในกิจการภายในของรัฐ แต่อาจจะมีความจําาเป็น ที่ต้องแก้ไขความขัดแย้งในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างเร่งด่วน เพราะ สถานการณ์ที่ดําาเนินการมาอย่างยาวนานมีผลต่อความมั่นคงของมนุษย์และความ มั่นคงของรัฐ
คําาถามหลักของงานศึกษา ได้แก่
1. สถานการณ์ในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เข้าข่ายเป็นการขัดแย้งทาง อาวุธท่ีไม่ใช่ระหว่างประเทศ (Non-international Armed Conflicts, NIACs) ตาม คาํา นยิ ามในกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศหรอื ไม่ และการใชค้ าํา อน่ื ๆ เรยี กแทน “สถานการณ์” และ “กลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ” มีผลในการส่งเสริมการยกระดับปัญหา ไปสู่สากลและการแทรกแซงอําานาจอธิปไตยหรือไม่
2. การเปิดโอกาสให้ฝ่ายที่สาม (Third Party) ได้เข้ามาสนับสนุนข้ันตอน ต่างๆ ของกระบวนการสันติภาพจะมีผลก่อให้เกิดการยกระดับปัญหาไปสู่สากลและ การแทรกแซงอําานาจอธิปไตยของรัฐหรือไม่
135




























































































   143   144   145   146   147