Page 62 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 62

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
กรณีศึกษาท่ี 1: ประสบการณข์ องการเจรจาทางสนั ตภิ าพเพอื่ ยตุ คิ วาม ขัดแย้งในอาเจะห์
ลักษณะของปัญหาและความเป็นมาของการเจรจาสันติภาพเพื่อยุติความ ขัดแย้งในอาเจะห์
ในวนั ท่ี4ธนั วาคม2519ขบวนการอาเจะหเ์สรี(FreeAcehMovement, GAM) ได้ประกาศอิสรภาพแต่ฝ่ายเดียว (Unilateral Declaration of Indepen- dence) และกลายเป็นกลุ่มติดอาวุธหลักในจังหวัดอาเจะห์ที่มีการต่อสู้กับรัฐบาล อินโดนีเซียเร่ือยมาจนกระท่ังมีการลงนามในข้อตกลงทางสันติภาพเฮลซิงกิ ในปี 2548 นอกจากกลุ่ม GAM แล้ว ยังมีกลุ่มเคล่ือนไหวอ่ืนๆ ท่ีก่อต้ังข้ึนมาหลังวิกฤต เศรษฐกจิ เอเชยี ซงึ่ สว่ นใหญจ่ ะเปน็ กลมุ่ นกั ศกึ ษาทไี่ มต่ ดิ อาวธุ แตม่ คี วามเชอื่ มโยงกบั กลุ่ม GAM ในระดับหน่ึง ในภาพรวม กลุ่มนักศึกษา นักต่อสู้กลุ่ม GAM ในพ้ืนที่ ตลอดจนประชาชนอาเจะห์ท่ัวไปให้ความเคารพนับถือตวนกูฮาซัน ดี ทีโร (Tengku Hasan di Tiro) ผู้ก่อตั้งกลุ่ม GAM ซ่ึงพําานักอยู่ท่ีสวีเดน ดังน้ัน ในเชิงเปรียบเทียบ ขบวนการต่อสู้ในอาเจะห์มีเอกภาพมากกว่าในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้และ มินดาเนา
นโยบายในการแก้ไขความขัดแย้งในอาเจะห์ด้วยวิธีการเจรจาและย่ืนข้อ เสนอในการปกครองตนเองเร่ิมต้นหลังจากที่มีการปฏิรูปทางการเมืองในปี 2541 ซ่ึง มคี วามแตกตา่ งจากวธิ กี ารรบั มอื กบั ความขดั แยง้ ในอดตี ทใี่ ชว้ ธิ ที างทหารมาโดยตลอด การเปล่ียนแปลงทางการเมืองในช่วงเวลาน้ันถือได้ว่ามีความสําาคัญเป็นอย่างมาก เพราะได้เปิดโอกาสให้มีการเปล่ียนแปลงทางด้านโครงสร้างการปกครองและผู้นําา ซ่ึงเอื้อต่อการใช้วิธีแก้ปัญหาความขัดแย้งท่ีสอดคล้องกับค่านิยมประชาธิปไตย1
การกระจายอําานาจการปกครองท่ัวประเทศผ่านกฎหมายการกระจาย อาํา นาจสสู่ ว่ นภมู ภิ าค เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการปฏริ ปู ทางการเมอื งทสี่ าํา คญั ในชว่ งเวลานนั้
1 Yash Ghai, “Introduction,” in Autonomy and ethnicity: negotiating competing claims in multi-ethnic states, ed. Yash Ghai (Cambridge: Cambridge University Press, 2000), 14.
 52



























































































   60   61   62   63   64