Page 61 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 61
ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
● การใชช้ อื่ อยา่ งเปน็ ทางการของกลมุ่ ตดิ อาวธุ ในเอกสาร (เชน่ ในขอ้ ตกลง ทางสันติภาพและข้อตกลงหยุดยิง) หรือด้วยวาจา (เช่น การสัมภาษณ์ ออกสอื่ ) และการเปดิ รบั บทบาทของฝา่ ยทสี่ ามในกระบวนการสนั ตภิ าพ จะไม่มีผลในการยกระดับปัญหาไปสู่สากล หรือเปิดโอกาสให้ฝ่ายที่สาม แทรกแซงกิจการภายในของรัฐเกินขอบเขตหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย เพราะโครงสรา้ งระหวา่ งประเทศยงั ใหค้ วามสาํา คญั กบั การเคารพอาํา นาจ อธิปไตยของรัฐ แม้ว่าประชาคมระหว่างประเทศได้ออกกฎหมายและ กติกา รวมท้ังส่งเสริมหลักการเพ่ือปกป้องสิทธิมนุษยชนตามท่ีอภิปราย ไว้ในบทที่ 2
● ฝ่ายรัฐควรรับมือกับปัญหาความขัดแย้งในลักษณะเชิงรุกเพ่ือกําาหนด ทิศทางของกระบวนการสันติภาพทั้งหมด โดยประกาศขั้นตอนและวาง ขอบเขตหน้าที่ของฝ่ายที่สามอย่างชัดเจน เพราะการปล่อยปละละเลย จะเป็นการเปิดช่องทางให้ฝ่ายท่ีสามเข้ามาเสนอหนทางหรือกําาหนด ทิศทางในการแก้ไขปัญหา
● ฝา่ ยทสี่ ามทมี่ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งในการสง่ เสรมิ กระบวนการสนั ตภิ าพมกั จะมี ความเขา้ ใจวา่ รฐั เปน็ ผกู้ าํา หนดอาํา นาจและขอบเขตหนา้ ทขี่ องฝา่ ยทสี่ าม ดังน้ัน การมีส่วนร่วมของฝ่ายท่ีสามจะต้องเป็นการทําางานร่วมกับตัว แสดงภายในรัฐ เพ่ือสนับสนุนนโยบายรัฐในการยุติปัญหาความขัดแย้ง
● นอกจากการเปิดโอกาสให้ฝ่ายที่สามเข้ามามีบทบาทในการส่งเสริม กระบวนการสนั ตภิ าพจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ กระบวนการสนั ตภิ าพโดยรวม แล้ว ยังช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ของรัฐในเวทีความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศด้วย
51