Page 59 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 59
บทที่ 3 การเจรจาเพื่อสันติภาพโดยฝ่ายที่สามและอําานาจอธิปไตยของรัฐ: กรณีศึกษาอาเจะห์และมินดาเนา
บทนําา
การเปิดโอกาสให้ฝ่ายที่สาม (Third Party) เข้ามาสนับสนุนขั้นตอนต่างๆ ของกระบวนการสันติภาพในพื้นที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้รับความนิยมมากขึ้น ดงั ตวั อยา่ งของการยตุ คิ วามขดั แยง้ ในอาเจะห์ (ประเทศอนิ โดนเี ซยี ) การบรรลขุ อ้ ตกลง ระหวา่ งกลมุ่ ตดิ อาวธุ บางกลมุ่ ในมนิ ดาเนา (ประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส)์ และกระบวนการสรา้ ง สนั ตสิ ขุ ทกี่ าํา ลงั ดาํา เนนิ การอยใู่ นพนื้ ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใตข้ องประเทศไทย รวมทงั้ การ เจรจาข้อตกลงหยุดยิงในบางพื้นที่ของเมียนมา (ก่อนที่จะเกิดรัฐประหารในเดือน กุมภาพันธ์ปี 2564) บทบาทของฝ่ายที่สาม (ทั้งที่เป็นรัฐและตัวแสดงที่ไม่เป็นรัฐ) มี หลากหลายรูปแบบ อาทิ การเป็นตัวกลางในการไกล่เกลี่ยความขัดแย้ง (Mediator) และการมีส่วนร่วมในการรักษาสันติภาพ (Peacekeeping) เป็นต้น
อยา่ งไรกด็ ี ในบางครงั้ ฝา่ ยตา่ งๆ อาจจะมกี ารตอ่ ตา้ นบทบาทของฝา่ ยทสี่ าม เนื่องจากมีความกังวลถึงโอกาสในการยกระดับปัญหาไปสู่สากลและการแทรกแซง อําานาจอธิปไตยโดยตัวแสดงภายนอก ซึ่งนําามาสู่คําาถามหลักของบทนี้ว่า การเปิด โอกาสใหฝ้ า่ ยทสี่ าม (Third Party) เขา้ มาสนบั สนนุ ขนั้ ตอนตา่ งๆ ของกระบวนการ สันติภาพมีผลก่อให้เกิดการยกระดับปัญหาไปสู่สากลและการแทรกแซงอําานาจ อธิปไตยของรัฐหรือไม่
บทนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการสร้างความกระจ่างเกี่ยวกับประเด็นเหล่านี้
ผา่ นการวเิ คราะหป์ ระสบการณข์ องการเจรจาทางสนั ตภิ าพเพอื่ ยตุ คิ วามขดั แยง้ ใน อาเจะห์และมินดาเนา เหตุผลในการเลือกวิเคราะห์ 2 กรณีนี้ (Case Justification) มี 3 ประการด้วยกัน