Page 57 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 57
ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
ประเทศตอ่ เหตกุ ารณก์ รอื เซะ ตากใบ และการหลบหนเี ขา้ ไปในมาเลเซยี ของชาวมลายู มุสลิม จําานวน 131 คน ในช่วงเดือนสิงหาคม 2548 ซึ่งส่งผลทําาให้มาเลเซียอนุญาต ให้ข้าหลวงใหญ่ผู้ล้ีภัยแห่งสหประชาชาติ (United Nations High Commissioner for Refugees, UNHCR) เข้ามาสัมภาษณ์ผู้ล้ีภัย จําานวน 131 คน เพื่อค้นหาความ จริง มาเลเซียยังเรียกร้องให้ประเทศไทยประกันความปลอดภัยของชาวมุสลิมใน ประเทศไทยทุกคน นอกจากน้ี ดาโต๊ะ สรี ฮิซามุดิน ตุน ฮุสเซน รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารในขณะนนั้ ยงั ขทู่ างการไทยวา่ จะเรยี กรอ้ งใหอ้ าเซยี นเปน็ ตวั กลาง ในการยุติความขัดแย้งในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จากเหตุการณ์ในช่วงเวลา ดังกล่าว จะเห็นได้ว่า คําาก็คือคําา ซึ่งมิได้มีอําานาจในการป้องกันการยกระดับปัญหาไป สู่สากลหรือการแทรกแซงระหว่างประเทศ แต่ที่สําาคัญ ความสนใจจากตัวแสดง ภายนอกลว้ นมาจากเหตกุ ารณท์ มี่ ผี ลกระทบตอ่ สทิ ธมิ นษุ ยชนขนั้ พนื้ ฐานและชวี ติ คน มใิ ชม่ าจากการใชค้ าํา เรยี กแทนสถานการณห์ รอื กลมุ่ ผเู้ หน็ ตา่ งจากรฐั ดว้ ยเหตนุ ี้ ทางการ ไทยจึงไม่น่าจะต้องกังวลต่อการใช้คําาเรียกแทนสถานการณ์หรือกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ
สรุป
ในบทนไี้ ดอ้ ภปิ รายถงึ การเลอื กใชค้ าํา เรยี กแทนสถานการณใ์ นพน้ื ทแี่ ละกลมุ่ ผเู้ หน็ ตา่ งจากรฐั และโอกาสทตี่ วั แสดงภายนอกจะยกระดบั สถานการณใ์ นพน้ื ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใตไ้ ปสสู่ ากลโดยการอา้ งคาํา นยิ ามของการขดั แยง้ ทางอาวธุ ทไี่ มใ่ ชร่ ะหวา่ ง ประเทศในกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศ ซงึ่ ไดเ้ ปดิ ชอ่ งทางใหต้ วั แสดงระหวา่ ง ประเทศไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการจดั การความขดั แยง้ ได้ ตลอดจนมอบอาํา นาจใหศ้ าล อาญาระหว่างประเทศสามารถพิจารณาความผิดท่ีเป็นการละเมิดอย่างร้ายแรงตาม มาตรา 3 ท่ีมีบัญญัติในอนุสัญญาเจนีวา เพ่ือคุ้มครองพลเรือนผู้บริสุทธ์ิทุกคนที่ ปราศจากการมีส่วนเก่ียวข้องกับการขัดแย้งท่ีใช้อาวุธ
จากการศึกษาในบทน้ีพบว่า การใช้คําาเรียกแทนสถานการณ์และตัวแสดง ต่างๆ ในพ้ืนท่ีความขัดแย้งซ่ึงมีพลวัตของการเปลี่ยนแปลงเป็นระยะๆ มิได้ส่งผลต่อ การใช้คําาเรียกแทนสถานการณ์ของตัวแสดงภายนอก ซึ่งมีการใช้คําาว่า “Conflict”
47