Page 56 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 56
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
กุมภาพันธ์ุ 2564 ในลักษณะเดียวกัน ประเทศสมาชิกอาเซียนไม่เคยมีความพยายาม ที่จะยกระดับปัญหาพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ไปสู่สากล ที่เป็นเช่นนี้เพราะ บรรทดั ฐาน(Norms)ของอาเซยี นทม่ี กี ารยดึ ถอื กนั มานานไดแ้ ก่หลกั การไมแ่ ทรกแซง กิจการภายในของรัฐ (Principle of Non-interference) และวิถีอาเซียน (ASEAN Way) ไดป้ กปอ้ งและสง่ เสรมิ อาํา นาจรฐั (State Authority) ของประเทศสมาชกิ ทาํา ให้ รฐั บาลของประเทศตา่ งๆ ลว้ นมผี ลประโยชนร์ ว่ มกนั ในการไมแ่ ทรกแซงกจิ การภายใน ของซึ่งและกัน แต่ที่สําาคัญ การที่ประเทศใดจะกระทําาการใดๆ ท่ีส่งผลกระทบต่อ อําานาจอธิปไตยของประเทศไทยจําาเป็นต้องไตร่ตรองว่าคุ้มค่ากับผลกระทบเชิงลบต่อ ความสัมพันธ์กับประเทศไทยหรือไม่ ซ่ึงอาจส่งผลกระทบในหลายๆ ด้านด้วยกัน เช่น ความสัมพันธ์ทางการทูต การค้าและการลงทุน
สรุปแล้วการใช้คําาเรียกแทนสถานการณ์หรือกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐมีผล ตอ่ การยกระดบั ปญั หาไปสสู่ ากลและ/หรอื แทรกแซงในสถานการณข์ อง พ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้หรือไม่
แม้ว่าทางการไทยจะใช้คําาใดๆ เช่น “ความขัดแย้ง” “สถานการณ์” “ผู้เห็น ต่างจากรัฐ” “กลุ่มผู้ก่อความไม่สงบ” หรือจะเรียกกลุ่มบีอาร์เอ็นตามช่ือย่อของกลุ่ม ก็ตาม แต่การใช้คําาเหล่านี้จะไม่มีผลต่อการยกระดับปัญหาไปสู่สากลและ/หรือ แทรกแซงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพราะระบบระหว่างประเทศตั้งอยู่บนหลัก ของความเสมอภาคทางด้านอําานาจอธิปไตยของรัฐ นอกจากนี้ หลักการไม่แทรกแซง ในกิจการภายในของรัฐจึงเป็นหน่ึงในหลักการสําาคัญของกฎหมายระหว่างประเทศ รวมทั้งระเบียบของภูมิภาคในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซ่ึงมีการระบุในกฎบัตร สหประชาชาติและกฎบัตรอาเซียน
ในทางกลบั กนั แมว้ า่ ในชว่ งเวลาปี 2547-2548 จะมกี ารเรยี กกลมุ่ ผเู้ หน็ ตา่ ง เปน็ “โจร” เพอื่ แสดงใหเ้ หน็ วา่ สถานการณใ์ นพนื้ ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใตเ้ ปน็ ปญั หา ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั อาชญากรรม แตค่ าํา วา่ “โจร” กไ็ มส่ ามารถปอ้ งกนั ความสนใจจากนานา
46