Page 58 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 58
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
และ “Insurgents” อย่างกว้างขวาง ถึงกระน้ัน ไม่ว่ารัฐบาลไทย หน่วยต่างๆ ของ ภาครัฐ และตัวแสดงในประชาคมระหว่างประเทศจะใช้คําาเรียกใดๆ ก็ตาม การบังคับ ใช้กฎหมายหรือหลักการมนุษยธรรมระหว่างประเทศก็ไม่สามารถกระทําาได้โดยง่าย อกี ทงั้ ยงั มปี จั จยั จาํา นวนมากทเี่ ออื้ ใหร้ ฐั บาลไทยยงั คงสามารถรกั ษา “ความเปน็ เจา้ ของ เรื่อง” (Ownership) ไว้ได้ เน่ืองจากโครงสร้างระหว่างประเทศยังคงให้ความสําาคัญ กบั หลกั ของความเสมอภาคทางดา้ นอาํา นาจอธปิ ไตยของรฐั โดยเนน้ วา่ มเี พยี งรฐั เทา่ นนั้ ที่มีความชอบธรรมตามกฎหมายที่จะอ้างสิทธิผูกขาดในการใช้อําานาจเหนือเขตแดน ของตน สิ่งเหล่าน้ีได้ถูกจารึกในกฎบัตรสหประชาชาติ และกฎบัตรของอาเซียนอย่าง ชัดเจน นอกจากน้ี ในความเป็นจริงโลกเรามีความท้าทายนานัปการท่ีรอให้ประชาคม ระหว่างประเทศแก้ไข ปัญหาเหล่าน้ีได้ถูกลําาดับความสําาคัญตามผลกระทบ ที่มีต่อความมั่นคงระหว่างประเทศ แต่เนื่องจากสถานการณ์ในประเทศไทยไม่ได้ กระทบถึงประชาคมระหว่างประเทศมากนัก ดังนั้น โอกาสท่ีตัวแสดงภายนอกจะยก ระดับปัญหาในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ไปสู่สากลจึงมีน้อยมาก
48