Page 60 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 60

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
ประการแรก ทั้ง 2 พ้ืนที่น้ีมีปัญหาความขัดแย้งท่ีดําาเนินการมายาวนาน นับทศวรรษ แต่เป็น 2 พื้นที่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ฝ่ายรัฐสามารถหา ข้อตกลงทางสันติภาพร่วมกับกลุ่มติดอาวุธได้สําาเร็จด้วยการสนับสนุนจากฝ่ายท่ีสาม
ประการที่สอง ทั้ง 2 กรณีน้ีมีความแตกต่างระหว่างจุดเร่ิมต้นของการมี ส่วนร่วมของฝ่ายที่สาม กล่าวคือ ประเทศอินโดนีเซียมีนโยบายเชิงรุกในการเชิญฝ่าย ที่สามซ่ึงมีความเหมาะสมในการเข้ามาสนับสนุนขั้นตอนต่างๆ ของกระบวนการ สันติภาพ แต่บทบาทของฝ่ายท่ีสามในกระบวนการสันติภาพของมินดาเนาเกิดจาก การยกระดับปัญหาไปสู่สากลโดยกลุ่มติดอาวุธท่ีมีชื่อว่า แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ โมโร (Moro National Liberation Front, MNLF) ซึ่งนําามาสู่การกดดันทางการทูต จากตวั แสดงภายนอก จากขอ้ แตกตา่ งระหวา่ ง 2 กรณนี ที้ าํา ใหเ้ หน็ วา่ รฐั บาลอนิ โดนเี ซยี ไม่ได้เพียงประสบความสําาเร็จในแง่ของการยุติปัญหาความขัดแย้งแต่เพียงอย่างเดียว แต่ยังสามารถรักษาความเป็นเจ้าของเร่ือง (Ownership) ได้ตั้งแต่ต้น โดยอาศัยการ ดําาเนินการในลักษณะเชิงรุก และการแสดงเจตจําานงในการแก้ปัญหาความขัดแย้งที่ สอดคลอ้ งกบั โครงสรา้ งระหวา่ งประเทศและระเบยี บโลกในปจั จบุ นั อนั นาํา ไปสผู่ ลลพั ธ์ เชิงบวกในการส่งเสริมภาพลักษณ์ระหว่างประเทศ
ประการท่ีสาม ทั้ง 2 กรณีมีความคล้ายคลึงกับปัญหาในพ้ืนท่ีจังหวัด ชายแดนภาคใต้บางประการ จึงทําาให้ประเทศไทยสามารถเรียนรู้จากกระบวนการ สนั ตภิ าพจากทงั้ 2 กรณไี ด้ กลา่ วคอื ปญั หาในอาเจะหแ์ ละมนิ ดาเนาเปน็ ความขดั แยง้ ทดี่ าํา เนนิ การมาอยา่ งยาวนานภายใตโ้ ครงสรา้ งระหวา่ งประเทศและระเบยี บภมู ภิ าคที่ ตอกย้ําาถึงหลักอําานาจอธิปไตยของรัฐและหลักการไม่แทรกแซงกิจการภายในของรัฐ
การวิเคราะห์กรณีศึกษาอาเจะห์และมินดาเนา แบ่งออกเป็น 3 ประเด็น ได้แก่ 1) ลักษณะของปัญหาและปัจจัยท่ีผลักดันให้เกิดกระบวนการสันติภาพ 2) กระบวนการสันติภาพและการมีส่วนร่วมของฝ่ายที่สาม และ 3) แนวทางในการ รับมือกับฝ่ายต่างๆ ที่ไม่เห็นด้วยกับกระบวนการสันติภาพ จากการศึกษาทั้ง 2 กรณี นี้ พบว่า
50





























































































   58   59   60   61   62