Page 81 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 81

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
เป็นการซื้อขาย ดังน้ัน ตุน มุสตาฟฟา ซึ่งมองว่า ตนเป็นผู้สืบทอดของสุลต่านซูลู จึงเล็งเห็นความจําาเป็นในการสร้างความวุ่นวายให้แก่รัฐบาลฟิลิปปินส์ท่ีกําาลังอ้าง กรรมสทิ ธเิ์ หนอื ดนิ แดนรฐั ซาบาห์ แตใ่ นทางกลบั กนั รฐั บาลฟลิ ปิ ปนิ สเ์ องกม็ องวา่ เปน็ ผู้สืบทอดของสุลต่านซูลูอันชอบธรรมเช่นเดียวกัน28 อย่างไรก็ตาม การสนับสนุน MNLF จากรัฐซาบาห์ได้ยุติลงหลังจากท่ีตุน มุสตาฟฟา แพ้การเลือกตั้งในปี 2518
นอกจาก MNLF จะมคี วามสามารถในการแสวงหาการสนบั สนนุ จากตวั แสดง ภายนอกแล้ว ทางกลุ่มยังประสบความสําาเร็จในการเรียกร้องความสนใจจากองค์การ การประชมุ อสิ ลาม (Organisation of Islamic Conference, OIC)29 ซง่ึ จะเหน็ ไดก้ าร ท่ี MNLF ได้ไปร่วมประชุม OIC ท่ีกรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ในปี 2517 และในปี 2520 โดย OIC ไดม้ อบสถานะผสู้ งั เกตการณ์ (Observer) ใหก้ บั กลมุ่ MNLF ซ่ึงนับว่าเป็นชัยชนะของกลุ่มในการยกระดับปัญหาไปสู่สากล แต่ที่สําาคัญ สถานะ ผู้สังเกตการณ์ได้เปิดโอกาสให้ทางกลุ่มนําาประเด็นการต่อสู้กับรัฐบาลฟิลิปปินส์เข้าสู่
30
เวที OIC ได้อย่างเต็มที่ นอกจากนี้ ตุน มุสตาฟฟา ยังมีความสนิทสนมกับผู้นําาใน
ตะวันออกกลาง โดยเฉพาะกษัตริย์ไฟซาล บิน อับดุลอะซีซ (Faisal bin Abulaziz) และ มูอัมมาร์ กัดดาฟี ซึ่งได้ใช้วิธีทางการทูตผ่าน OIC เพ่ือกดดันรัฐบาลฟิลิปปินส์ ให้เจรจาทางสันติภาพกับกลุ่ม MNLF ท้ังน้ี ถึงแม้ว่า OIC ได้แสดงความเป็น ห่วงต่อสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนในมินดาเนา แต่ในขณะเดียวกันทางองค์การฯ ได้เน้นย้ําา ถึงความสําาคัญของกฎหมายรัฐธรรมนูญและการเคารพอําานาจอธิปไตยของประเทศ
28 “Libya used Sabah to arm PHL Moro rebels in 1970,” Wikileaks, 12 April 2013, https://www.gmanetwork.com/news/news/nation/303584/wikileaks-libya-used- sabah-to-arm-phl-moro-rebels-in-1970s/story/
29 ในปี 2554 (2011) ทางองค์กรได้เปล่ียนช่ือเป็น Organisation of Islamic Cooperation แต่ ตัวย่อยังคงเดิม
30 ตงั้ แตป่ ี 2546 รฐั บาลฟลิ ปิ ปนิ สม์ คี วามพยายามทจี่ ะขอสถานะผสู้ งั เกตการณใ์ น OIC แตไ่ มป่ ระสบ ความสําาเร็จ เน่ืองจากแม้ว่ามีบางประเทศที่สนับสนุนรัฐบาลฟิลิปปินส์ เช่น อินโดนีเซีย และ มาเลเซีย แต่ยังมีบางประเทศท่ีขัดขวางการสมัคร เช่น ตุรกี ในแง่น้ี รัฐบาลไทยนับว่าได้ประสบ ความสําาเร็จในการแสวงหาการสนับสนุนจากสมาชิก OIC จนได้รับสถานะผู้สังเกตการณ์
 71

























































































   79   80   81   82   83