Page 82 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 82
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
ฟิลิปปินส์ เพราะความขัดแย้งในมินดาเนายังถือเป็นเรื่องการเมืองภายใน31 จากปัญหาท่ีถูกยกระดับไปสู่สากล รัฐบาลฟิลิปปินส์ได้โต้ตอบสถานการณ์ ด้วย 3 วิธี วิธีท่ีหน่ึง คือ การใช้กําาลังทางทหารเพื่อปราบปราม MNLF อย่างหนัก ซึ่ง ส่งผลให้ในวันท่ี 3 สิงหาคม 2516 มีนักต่อสู้และประชาชนจําานวนนับพันประกาศ
ยอมแพ้และละทิ้งการต่อสู้กับรัฐบาลฟิลิปปินส3์2
วิธีที่สอง คือ การใช้วิธีทางการทูตเชิงรุกเพ่ือสานความสัมพันธ์กับประเทศ
สมาชกิ OIC และประเทศสมาชกิ องคก์ ารกลมุ่ ประเทศผสู้ ง่ ออกนาํา้ มนั (Organization ofPetroleumExportingCountries,OPEC)โดยทปี่ ระธานาธบิ ดนี ายเฟอรด์ นิ านด์ มารก์ อส ไดใ้ หค้ วามสาํา คญั กบั ประเทศอยี ปิ ต์ ซงึ่ เปน็ ประเทศทมี่ อี ทิ ธพิ ลในกลมุ่ ประเทศ อาหรับ วิธีทางการทูตที่มาร์กอสใช้มีหลายรูปแบบด้วยกัน เช่น ประเทศฟิลิปปินส์ได้ ออกเสยี งสนบั สนนุ ในทปี่ ระชมุ สมชั ชาใหญแ่ หง่ สหประชาชาตใิ นวาระใหอ้ สิ ราเอลถอน กําาลังทหารออกจากดินแดนอาหรับที่ยึดครองมา โดยหวังให้กลุ่มประเทศอาหรับลด การสนบั สนนุ แกก่ ลมุ่ MNLF และยตุ กิ ารดาํา เนนิ มาตรการในการยกเลกิ การขายนาํา้ มนั เพ่ือกดดันประเทศฟิลิปปินส์ นอกจากนี้ ประเทศฟิลิปปินส์ยังขอการสนับสนุนจาก ประเทศอินโดนีเซียในฐานะท่ีเป็นสมาชิกของ OIC เพื่อลดทอนความกดดันทางการ ทตู และปอ้ งกนั การแทรกแซงจาก OIC ประการสดุ ทา้ ย รฐั บาลฟลิ ปิ ปนิ สไ์ ดเ้ ชญิ ตวั แทน จาก OIC มารว่ มสงั เกตการณส์ ถานการณใ์ นมนิ ดาเนาดว้ ยตวั เอง จะเหน็ ไดว้ า่ นโยบาย ทางการทูตของฟิลิปปินส์ประสบความสําาเร็จในระดับหนึ่ง ซ่ึงเห็นจากการที่ตัวแสดง ภายนอกยอมลดการสนับสนุนท่ีเคยส่งให้กับกลุ่ม MNLF33
31 Organisation of Islamic Conference (OIC), Resolution No. 10/6-P Negotiations between the Moro Liberation Front and the Government of the Philippines, The Sixth Islamic Conference of Foreign Ministers meeting in Jeddah, Kingdom of Saudi Arabia, 12-15 July, 1975, https://ww1.oic-oci.org/english/conf/fm/All%20 Download/Frm.06.htm#RESOLUTION%20No.%2010/6-P
32 Domingo, “The Muslim Secessionist Movement in the Philippines: issues and prospects,” 51.
33 Ibid, 54.
72