Page 84 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 84

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
1. นายโจเซฟ "เอรัป" เอสตราดา ซึ่งดําารงตําาแหน่งระหว่างปี 2541-2544
2. นางกลอเรีย มาคาปากัล-อาร์โรโย ซ่ึงดําารงตําาแหน่งระหว่างปี 2541- 2553
3. นายเบนิกโน "นินอย" อากีโน ซ่ึงดําารงตําาแหน่งระหว่างปี 2553-2559
บทบาทของ OIC ในการส่งเสริมสันติภาพในมินดาเนาเร่ิมต้นในปี 2518 ท่ี นครญิดดะห์ (Jeddah) ประเทศซาอุดีอาระเบีย โดย OIC ได้มอบหมายให้ คณะกรรมการซ่ึงประกอบด้วยประเทศสมาชิก 4 ประเทศ (อันได้แก่ ลิเบีย ซาอุดีอาระเบีย เซเนกัล และโซมาเลีย หรือท่ีเรียกว่า OIC Committee of Four) ได้ ทําาหน้าที่ในการเป็นตัวกลางในการเจรจา ถึงแม้ว่ากระบวนการสันติภาพประสบกับ อุปสรรคหลายประการ แต่ในท้ายท่ีสุด ในปี 2519 ฝ่ายรัฐบาลฟิลิปปินส์ และ MNLF ไดล้ งนามในขอ้ ตกลงตรโิ ปลี (Tripoli Agreement) ทเี่ มอื งตรโิ ปลี ประเทศลเิ บยี สาระ สําาคัญของเอกสารฉบับนี้ประกอบด้วยข้อตกลงในการหยุดยิง และมอบสิทธิในการ ปกครองตนเองใน13จงัหวดัในเกาะมนิดาเนาซลููและปาลาวนัแตเ่ปน็ทนี่า่เสยีดาย ว่า ข้อตกลงดังกล่าวกลับไม่สามารถยุติความขัดแย้งในมินดาเนาได้ เน่ืองจาก ประธานาธิบดีนายเฟอร์ดินานด์ มาร์กอส ไม่ได้มีเจตจําานงทางการเมือง (Political Will) ท่ีจะแก้ปัญหาและปฏิบัติตามข้อตกลงฯ ซึ่งมีความคลุมเครือตั้งแต่ต้น โดยจะ เห็นได้ว่าจากข้อตกลงท้ังหมด 19 ข้อ มีจําานวน 11 ข้อที่มีการระบุท้ายข้อว่า “ให้มา ตกลง [รายละเอยี ด] กนั ในภายหลงั 35” จากความคลมุ เครอื ดงั กลา่ วทาํา ใหป้ ระธานาธบิ ดี
35 ในข้อตกลงใช้คําาว่า ‘to be discussed later’ หรือ ‘to be fixed or determined later’ โปรดดู Rufa Cagoco-Guiam, “The Tripoli Agreement of 1976: Lessons, impact on the Mindanao peace process,” Philippine Centre for Investigative Journalism, 10 August 2010, https://pcij.org/article/881/the-tripoli-agreement-of-1976-lessons- impact-on-the-mindanao-peace-process
 74




























































































   82   83   84   85   86