Page 83 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 83
ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
วิธีที่สาม คือ การเจรจาสันติภาพ โดยท่ีรัฐบาลฟิลิปปินส์ได้เปิดโอกาสให้ OIC เขา้ มามบี ทบาทในการแกป้ ญั หาความขดั แยง้ ภายใตก้ รอบพหภุ าคี34 บทบาทของ OIC เปน็ เพยี งจดุ เรมิ่ ตน้ ของกระบวนการสนั ตภิ าพในมนิ ดาเนา ซงึ่ จะมกี ารกลา่ วถงึ ใน รายละเอียดในส่วนต่อไป
กระบวนการสันติภาพและการมีส่วนร่วมของฝ่ายท่ีสามในกระบวนการ สันติภาพมินดาเนา
กระบวนการสันติภาพในมินดาเนาสามารถแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ในช่วงแรก (ปี 2518-2539) OIC ไดม้ อบหมายใหค้ ณะกรรมการ ซงึ่ ประกอบดว้ ยประเทศสมาชกิ OIC บางประเทศทําาหน้าท่ีในการเป็นตัวกลางในการไกล่เกลี่ย โดยคณะกรรมการชุด นี้มีจุดมุ่งหมายในการยุติความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลฟิลิปปินส์และ MNLF หลังจาก การเจรจาผ่านไป 2 ทศวรรษ ทั้ง 2 ฝ่ายได้ลงนามกันในข้อตกลงสันติภาพข้ันสุดท้าย ปี 2539 (Final Peace Agreement, FPA) ซ่ึงได้กลายเป็นกรอบในการเจรจากับ MILF ในช่วงระหว่างปี 2539-2544 โดยไม่มีตัวกลางในการไกล่เกล่ีย กระบวนการ สันติภาพในช่วงแรกดําาเนินการภายใต้ประธานาธิบดี 3 คน ดังน้ี
1. นายเฟอร์ดินานด์ มาร์กอส ซ่ึงดําารงตําาแหน่งระหว่างปี 2508-2529
2. นางคอราซอน อากีโน ซึ่งดําารงตําาแหน่งระหว่างปี 2529-2535
3. พลเอก ฟิเดล รามอส ซึ่งดําารงตําาแหน่งระหว่างปี 2535-2541 ในช่วงที่สอง (ปี 2544-2557) มาเลเซียเป็นตัวกลางในการเจรจาระหว่าง
รฐั บาลฟลิ ปิ ปนิ สแ์ ละกลมุ่ MILF กระบวนการสนั ตภิ าพในชว่ งทส่ี องดาํา เนนิ การภายใต้ ประธานาธิบดี 3 คน ดังนี้
34 Henelito A Sevilla Jr., “The Republic of the Philippines BID for Observer Status at the OIC: Motivations, Challenges and Opportunities,” International Journal Advances in Social Science and Humanities 1, no. 1 (2013): 21.
73