Page 86 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 86

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
การจําากัดอําานาจของเขตปกครองตนเอง37 และ MILF ซึ่งเป็นกลุ่มติดอาวุธขนาดใหญ่ ไมไ่ ดม้ สี ว่ นรว่ มในการเจรจาครงั้ นี้ ทาํา ใหค้ วามคบื หนา้ ของกระบวนการสนั ตภิ าพไมไ่ ด้ มีผลยุติปัญหาความขัดแย้งที่ดําาเนินมาอย่างยาวนาน
ในรัฐบาลต่อมาภายใต้การนําาของประธานาธิบดีพลเอก ฟิเดล รามอส OIC ยังคงทําาหน้าท่ีในการเป็นตัวกลางในการเจรจาภายใต้การนําาของคณะกรรมการ ซึ่ง ขยายเป็น 6 ประเทศภายใต้การนําาของอินโดนีเซีย หลังจากการเจรจาถึง 4 รอบใน ช่วงระหว่างปี 2536-2539 ทั้ง 2 ฝ่ายได้ลงนามในข้อตกลงสันติภาพขั้นสุดท้าย ปี 2539 (Final Peace Agreement, FPA) อันมีผลในการก่อตั้งสภาฟิลิปปินส์ภาค ใต้เพ่ือสันติภาพและพัฒนา (Southern Philippine Council for Peace and Development, SPCPD) ซึ่งทําาหน้าที่ในการเป็นหน่วยงานบริหารเขต ARMM
หลังจากที่มีการลงนามในข้อตกลงสันติภาพขั้นสุดท้าย ปี 2539 รัฐบาล ฟิลิปปินส์เริ่มมีการพูดคุยกับกลุ่ม MILF โดยตรงโดยปราศจากตัวกลางในการเจรจา จนถึงปี 2544 ในช่วงเวลาดังกล่าวท้ัง 2 ฝ่ายได้ลงนามในข้อตกลง (Agreement) แถลงการณ์ร่วม (Joint Communique) และมติ (resolution) ท้ังหมด 39 ฉบับ แตเ่ อกสารเหลา่ นไ้ี มไ่ ดค้ รอบคลมุ เนอื้ หาหรอื ประเดน็ การเรยี กรอ้ งหลกั ของกลมุ่ MILF จงึ ไมม่ ผี ลในการยตุ คิ วามขดั แยง้ 38 สดุ ทา้ ยกระบวนการสนั ตภิ าพตอ้ งหยดุ ชะงกั ไปดว้ ย อุปสรรคหลายประการ รวมท้ังการประกาศสงครามในรัฐบาลชุดต่อมาภายใต้การนําา ของประธานาธิบดีโจเซฟ "เอรัป" เอสตราดา (Joseph “Erap” Estrada)
บทบาทของมาเลเซียในการเป็นตัวกลางในการไกล่เกล่ียความขัดแย้ง ในมนิ ดาเนาเรมิ่ ขนึ้ หลงั จากที่ นางกลอเรยี มาคาปากลั -อารโ์ รโย (Gloria Macapagal- Arroyo) ข้ึนดําารงตําาแหน่งประธานาธิบดีในปี 2544 จากน้ัน รัฐบาลได้ประกาศหยุด
37 Ibid, 250.
38 Soliman Santos อ้างใน Benedicto R. Bacani, The Mindanao Peace Talks: Another
Opportunity to Resolve the Moro Conflict in the Philippines, Special Report 131 (Washington, DC: U.S. Institute, 2005), https://usip.org/sites/default/files/sr131. pdf, 5
 76


























































































   84   85   86   87   88