Page 13 - PowerPoint Presentation
P. 13
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 3 : ดัชนีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพ (คะแนน) น้ าหนัก
ค าอธิบาย : คนไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานมีทักษะการเรียนรู้ และทักษะ ที่จ าเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถึงการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตดีขึ้น .....
โดยคนไทยทุกคนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น มีทักษะการเรียนรู้ และทักษะที่จ าเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 ทั้งยังสามารถเข้าถึงการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต รหัส : 120101
วิธีค านวณ Average (A + B + C + D) โดยพิจารณาจากผลการด าเนินการเฉพาะที่ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการด าเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ ดัชนีการพัฒนาครูและบุคลากรทาง
A = สัดส่วนของครูผู้สอนภาษาอังกฤษที่ได้ รับการทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษตามกรอบมาตรฐาน CEFR ทั้งหมด/จ านวนครูผู้สอนภาษาอังกฤษทั้งหมด การศึกษาให้มีคุณภาพ (คะแนน)
(ส่วนราชการที่ด าเนินการ คือ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา)
B = สัดส่วนของครูที่ได้รับการพัฒนาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ครูยุคใหม่ /จ านวนครูทั้งหมด (ส่วนราชการที่ด าเนินการ คือ ส านักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และกรมส่งเสริมการเรียนรู้) ยุทธศาสตร์ชาติ : การพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพ
ี่
C = สัดส่วนของครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษาได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพเพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าทได้อย่างมีประสิทธิภาพ /จ านวน และทรัพยากรมนุษย์
ครูทั้งหมด (ส่วนราชการที่ด าเนินการ คือ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และกรมส่งเสริมการเรียนรู้)
D = สัดส่วนของครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับสวัสดิการ สวัสดิภาพ เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีเป็นแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ/จ านวนครูทั้งหมด
(ส่วนราชการที่ด าเนินการ คือ ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และกรมส่งเสริมการเรียนรู้ โดยมีส านักงานคณะกรรมการ แผนแม่บท : ประเด็นที่ 12 การพัฒนาการเรียนรู้
ส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นหน่วยงานร่วมให้ข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวข้อง)
เป้าหมาย ปี 2567 : ไม่น้อยกว่าร้อยละ 57
แผนแม่บทย่อย : การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อ
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570 การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : คนไทยได้รับการศึกษาที่มี
2561 2562 2563 2564 2565 2566 2566 2567* 2568 2569 2570 คุณภาพตามมาตรฐานมีทักษะการเรียนรู้ และทักษะ ที่จ าเป็น
ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถึงการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
n/a n/a n/a n/a n/a n/a - ไม่น้อยกว่า n/a n/a ไม่น้อยกว่า ตลอดชีวิตดีขึ้น
ร้อยละ 57 ร้อยละ 60
ค่าเป้าหมาย
เกณฑ์การประเมิน รอบที่ 1 (6 เดือน)
2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
- ไม่น้อยกว่า ไม่น้อยกว่า ไม่น้อยกว่า
ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล / จัดท าแนวทางการพัฒนาครู จัดท าแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม และด าเนินการ รายงานความก้าวหน้าผลการด าเนินงานรอบ 6 เดือน ร้อยละ 60 ร้อยละ 80 ร้อยละ 100
และบุคลากรทางการศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้อง พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้คณะกรรมการก ากับการประเมินผลฯ ทราบ
เกณฑ์การประเมิน รอบที่ 2 (12 เดือน) ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) .............................................
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 56 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 57 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 58 หมายเลขโทรศ ัพท์
..................................................
หมายเหตุ : * ค่าเป้าหมายจากยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 - ข้อมูลพื้นฐานที่ปรากฏจากส านักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป.ศธ.ค านวณโดย สศช - มีข้อมูลปี 2566 เป็นปีแรก อยู่ระหว่างจัดเก็บข้อมูล
แหล่งอ้างอิง : ข้อมูลจาก เอกสารประกอบแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติฯ (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) ที่มา http://nscr.nesdc.go.th/wp-content/uploads/2023/03/ns_document_090366.pdf และ
รายงานสรุปผลการด าเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจ าปี 2565 ที่มา http://nscr.nesdc.go.th/wp-content/uploads/2023/03/NS-Book-for-Web_final_240366.pdf 12