Page 40 - รายงานประจำปี2564ศวก.ที่8อุดรธานีWeb
P. 40
รายงานประจ าปี 2564 | Annual Report 2021 39
ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี | Regional Medical Sciences Center 8 Udonthani
การส่งเสริม พัฒนา การเฝ้าระวังเตือนภัยสขภาพด้านเห็ดพิษ
ุ
อัจจิมา ทองบ่อ, วีรนุช โคตรวงศ์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ตระหนักถึงคุณภาพชีวิตที่ดี และความปลอดภัยจาก
การบริโภคเห็ดป่า ซึ่งจัดเป็นอาหารทางธรรมชาติ ที่ประชาชนมีโอกาสเสี่ยงตามฤดูกาล ดังนั้นเพื่อป้องกันการคุกคามทาง
สุขภาพ เห็นควรให้มีการเพิ่มประสิทธิภาพความแม่นย้า ของเครื่องมือคัดกรอง Application คัดแยกเห็ดไทย ส้าหรับชุมชน
พัฒนาวิธีการตรวจวิเคราะห์เห็ดทางห้องปฏิบัติการของศูนย์พิษวิทยา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ รายงานสถานการณ์อาหาร
เป็นพิษจากเห็ดกรมควบคุมโรค ส่งเสริมให้ชุมชนน้าองค์ความรู้ และ Application คัดแยกเห็ดไทย ไปใช้ประโยชน์สูงสุด ที่
เกิดจากการบูรราการภาคีเครือข่ายทางภาครัฐ ประชาชน การปกครอง ที่สามารถร้อยเรียง และเชื่อมโยงการบริหารจัดการ
ทางสุขภาพของทีมแพทยด้านการจัดการผู้ป่วย ป้องกัน เฝ้าระวังตนเอง Point-of-care testing (POCT) รวมถึงการส่งเสริม
์
สนับสนุนการด้าเนินงานอย่างต่อเนื่อง
1. พัฒนาหลักสูตรการถ่ายทอดองค์ความรู้ และทักษะการใช้ Application คัดแยกเห็ดไทย เพื่อการด้าเนินงาน
ตาม Point-of-care testing (POCT) และ Alert system ส้าหรับชุมชน อบรมผ่านระบบ Application ZOOM
1.1 ศูนย์แจ้งเตือนภัย เฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ในวันที่ 25 มิถุนายน
พ.ศ. 2564 หลักสูตรความรเรื่องเห็ดพิษ ในด้านการป้องกัน เฝ้าระวัง และแจ้งเตือนภัย ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล
ู้
ส่งเสริมสุขภาพต้าบล SRRT และ อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน ในศูนย์แจ้งเตือนภัยฯ จ้านวน 19 แห่ง มีผู้เข้าร่วม
อบรม 441 คน ในพื้นที่เขตบริการสุขภาพที่ 8 ได้แก่ จังหวัดอุดรธานี หนองคาย หนองบัวล้าภู สกลนคร นครพนม
บึงกาฬ และเลย มีความพึงพอใจ ในหลักสูตรและการใช้งานแอพพลิเคชั่น คัดแยกเห็ดไทย ร้อยละ 76.9
1.2 เจ้าหน้าที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ในวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2564 หลักสูตรความรู้เรื่อง
เห็ดพิษ ในด้านการป้องกัน เฝ้าระวัง และแจ้งเตือนภัย ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่งานพิษวิทยา ทีม Com Med Sci. และ ผู้ที่
สนใจของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ทั้ง 15 แห่ง และเจ้าหน้าที่งานระบาดวิทยาส้านักงานควบคุมโรค ส้านักงาน
สาธารณสุขจังหวัด และทีม SRRT ในเขตรับผิดชอบของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ทั้ง 15 แห่ง จ้านวน 70 คน มีความ
พึงพอใจ ในหลักสูตรความรู้เรื่องเห็ดพิษ ร้อยละ 96.55
2. ประเมิน Application คัดแยกเห็ดไทย ในการสแกนเห็ดมีความแม่นย้า ร้อยละ 80 การประเมินประสิทธิภาพ
Application คัดแยกเห็ดไทย จากการใช้ภาพเห็ด จ้านวน 70 ภาพ จากเห็ด 12 กลุ่ม โดยเจ้าหน้าที่ศูนย์วิทยาศาสตร์
การแพทย์ ทั้ง 15 แห่ง มีผู้ตอบแบบประเมิน จ้านวน 156 คน พบว่ามีเห็ด 10 กลุ่ม ตอบถูกต้อง มากกว่าร้อยละ 80
และมีเห็ด 2 กลุ่ม ที่ตอบถูกต้องน้อยกว่าร้อยละ 80 จ้านวน 2 ชนิด ได้แก่ เห็ดบานค่้า และเห็ดระงากพิษ พบว่าผลการ
ประเมินความพึงพอใจการใช้งาน Application มีความพึงพอใจร้อยละ 76.9 ผลการประเมินดังกล่าวจะน้าไปปรับปรุง
ฐานข้อมูลเห็ด และ Application คัดแยกเห็ดไทยต่อไป
3. พัฒนาฐานข้อมูลเห็ดรูปแบบ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)/Banner
3.1 ฐานข้อมูลเห็ดใน Application พบว่ามีเห็ดป่าธรรมชาติจ้านวน 20 กลุ่ม รวม 124 ชนิด เป็น
กลุ่มเห็ดที่มีการรับประทาน และเห็ดพิษที่มีข้อมูลการระบาดอาหารเป็นพิษ ดังนี้