Page 43 - รายงานประจำปี2564ศวก.ที่8อุดรธานีWeb
P. 43

รายงานประจ าปี 2564 | Annual Report 2021                    42
                                 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี | Regional Medical Sciences Center 8 Udonthani





           การพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัย และยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์เครื่องส าอางผสมสมุนไพร


                                          ของผู้ประกอบการสู่ Smart Product
                                                               ระพีพร ประกอบแสง, โชติวรรณ  พรทุม



               ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้จัดท้าโครงการพัฒนาเครือข่ายวิทยาศาสตร์

    การแพทย์ชุมชน ประจ้าปี พ.ศ. 2564 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี และเครือข่ายต่างๆในพื้นที่ ได้เข้าร่วม

    โครงการและร่วมกันในการพัฒนาคุณภาพและกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชน (Development) โดยมุ่งเน้นการ

     พัฒนากระบวนการผลิตหรือคุณภาพผลิตภัณฑ์ (Process & Products) ของผู้ประกอบการ OTOP/SMEs เพื่อให้ได้สินค้าที่มี
    คุณภาพตามเกณฑ์ FDA ThaiHerb  ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ เชื้อจุลินทรีย์ สารส้าคัญ ทดสอบประสิทธิภาพสารกันสาร และโลหะ

    หนัก เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ในการดูแลด้านคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ เพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการให้พร้อมสู่
    กระบวนการ ขอรับรองมาตรฐาน FDA ThaiHerb เพิ่มขีดความสามารถของในการแข่งขันและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน ให้มี
    คุณภาพได้มาตรฐาน และปลอดภัยก่อนถึงมือผู้บริโภค
               ผลการด าเนินงาน

               1. คัดเลือกผู้ประกอบการเข้าร่วมการพัฒนาจ้านวน 4 ราย ได้แก่
                  1.1 อ.พรเจริญ จ.บึงกาฬ จ้านวน 1 ผลิตภัณฑ์
                  1.2 วิสาหกิจชุมชนแปรรูปสมุนไพรหมู่บ้านบ่อโคลน ต.กุดสระ อ.เมือง จ.อุดรธานี จ้านวน 2 ผลิตภัณฑ์
                                                                          ิ
                  1.3 ฟ้าเสกข์ ต.โพธิ์ตาก อ.เมือง จ.นครพนม จ้านวน 1 ผลตภัณฑ์
                  1.4 บริษัทเอสติ๊สเกิน อลูสเมติกส์ จ้ากัด ต.สุวรรณคูหา อ.สุวรรณคูหา จ.หนองบัวล้าภู จ้านวน 1 ผลิตภัณฑ์

               2 . ด้ า เ นิ น ก า ร ต ร ว จ เ ยี่ ย ม

    ผู้ประกอบการที่เข้าโครงการ เพื่อท้าให้ทราบ
    ถึงความพร้อม ศักยภาพในการพัฒนา และ
    ปัญหาของแต่ละเครือข่าย
               3. สนับสนุนองค์ความรู้ ในการ
    พัฒ น าผลิตภัณ ฑ์   โ ดยร่วม กับ มื อ กั บ
    กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้แก่ ส้านัก
    เครื่องส้าอางและวัตถุอันตราย ในการเตรียม

    วัตถุดิบสมุนไพรที่น้ามาผลิตเครื่องส้าอาง
    เนื่องจากพบปัญหาผลิตภัณฑ์ไม่ผ่านคุณภาพ
    ด้านเชื้อ ซึ่งสาเหตุเกิดจากการขั้นตอนเตรียม
    วัตถุดิบ และองค์ความรู้การเตรียมการสกัด
    โดยวิธีการหมักจากเครือข่ายเครื่องส้าอางของ
    ศูนย์ฯ
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48