Page 48 - รายงานประจำปี2564ศวก.ที่8อุดรธานีWeb
P. 48
รายงานประจ าปี 2564 | Annual Report 2021 47
ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี | Regional Medical Sciences Center 8 Udonthani
ศูนย์แจ้งเตือนภัยฯ กลไกชุมชนเขต 8
ชุลีพร จันทรเสนา
ความเป็นมา 10 ปีของการศึกษารูปแบบการยกระดับคุณภาพและศักยภาพห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
้
้
การแพทย์ชุมชน เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค ภายใต้การบริหารจัดการดวยคนในชุมชนเอง ที่มุ่งเน้นการเสริมสรางความเข้มแข็ง
ให้กับชุมชนในการเฝ้าระวังและแจ้งเตือนภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัย ด้วยข้อมูลที่ผ่านการตรวจคัดกรองตามกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ คือ การตรวจทางกายภาพ การตรวจทางเคมีด้วยชุดทดสอบอย่างง่าย และการตรวจยืนยันผลโดยการ
เปรียบเทียบผลกับฐานข้อมูล กรมวิทย์ with you และหรือส่งตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อ้างอิง
ก่อนด้าเนินการตามมาตรการของชุมชน โดยมีเป้าหมายการพัฒนาคาดหวังให้มีการจัดตั้งศูนย์แจ้งเตือนภัย ฯ ในพื้นที่เขต
สุขภาพ 7 จังหวัด 87 อ้าเภอ 644 ต้าบลๆละ 1 แห่ง และมีอสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนปฏิบัติการต้าบลละ 2 คน
(1,288 คน) ด้วยกลไกการพัฒนาชุมชนต้นแบบ คือ 1.ทบทวนปัญหาและค้นหาผลิตภัณฑ์กลุ่มเสี่ยง 2.จัดท้าประชาคม 3.
จัดตั้ง ศูนย์แจ้งเตือนภัย เฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน(ศูนย์แจ้งเตือนภัย ฯ) 4. พัฒนา อสม.
วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน 5.เฝ้าระวัง 6.แจ้งเตือนภัย 7.มาตรการชุมชน 8. ติดตามประเมินผลแบบมีส่วนร่วม โดยศูนย์
แจ้งเตือนภัย ฯที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพนั้น จะต้องมีคะแนนตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไปของแต่ละหมวด ดังนี้ หมวด 1 ว่าด้วย
ปัจจัยพื้นฐานในการบริหารงานหรือโครงการ (60 คะแนน) หมวด 2 ว่าด้วย ผลงานที่แสดงถึงความส้าเร็จของการ
ด้าเนินงาน (20 คะแนน) และหมวด 3 ว่าด้วย ความยั่งยืน (20 คะแนน)
วิธีการ ทบทวนฐานข้อมูลเครือข่ายแบบมีส่วนร่วมส้านักงานสาธารณสุขจังหวัด พบว่ามีการจัดตั้งศูนย์แจ้ง
เตือนภัย ฯครั้งแรกในปี 2558 ถึงปัจจุบันจ้านวน 62 แห่ง มีอสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชมชนจ้านวน 758 คนคิดเป็นร้อย
ุ
ละ 58.9 ของเป้าหมาย และได้รับปลอกแขนเป็นผู้ช้านาญงานจ้านวน 206 คนคิดเป็นร้อยละ 27.18 กระจายในพื้นที่ 7
จังหวัด 17 อ้าเภอ 49 ต้าบล รูปแบบการถ่ายทอดองค์ความรู้ ขึ้นกับสภาพปัญหา ความต้องการของพื้นที่ และติดตาม
ประเมินผลเพื่อธ้ารงรักษาสภาพ แบ่งกลุ่มตามความพร้อมของแต่ละชุมชนได้ 3 กลุ่ม ดังนี้
1. กลุ่มที่มีความเข้มแข็งสามารถบริหารจัดการได้ด้วยตนเอง ส่งคู่มือแนวทางการพัฒนาศูนย์แจ้ง ฯ เพื่อเป็น
แนวทางในการพัฒนาตนเอง และหลักสูตรออนไลน์เพื่อให้ด้าเนินการพัฒนา อสม.วิทย์ ฯ
2. กลุ่มพัฒนา ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มที่มีการปรับเปลี่ยนทีมขับเคลื่อน และประสงค์จะฟื้นฟูศักยภาพ อสม.
มักจะจัดอบรมโดยใช้งบประมาณของพื้นที่
3. กลุ่มก้าลังพัฒนา เป็นกลุ่มที่มีการปรับเปลี่ยนผู้รับผิดชอบ และขาดความต่อเนื่องในการด้าเนินงานแต่
ประสงค์จะด้าเนินงาน จัดส่งคู่มือแนวทางการพัฒนาศูนย์แจ้ง ฯให้ศึกษาและนัดหมายลงพื้นที่เพื่อรับทราบ ร่วมวางแผนการ
พัฒนา
ปัญหาอุปสรรค สถานการณ์โควิด-19 ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ที่คาดว่าจะยาวนาน และส่งผลกระทบสูงต่อการ
เปลี่ยนแปลงในเชิงพฤติกรรมของภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ประกอบกับการได้รับข้อมูลข่าวสารถึงผลกระทบต่างๆ อาจก่อให้เกิด
ความเครียด ความกลัว ในจิตใจของประชาชน ยากต่อการลงพื้นที่ติดตามเชิงลึก
ผลลัพธ์ที่ได้ ปรับรูปแบบการท้างานแบบ New normal คือ 1.สร้างสื่อการเรียนรู้แบบออฟไลน์และออนไลน์
เผยแพร่และจัดเก็บในเวปไชต์ กรมวิทย์ with you 2. สร้าง Google from เป็นเครื่องมือจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานของเครือข่าย