Page 49 - รายงานประจำปี2564ศวก.ที่8อุดรธานีWeb
P. 49

รายงานประจ าปี 2564 | Annual Report 2021                    48

                                 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี | Regional Medical Sciences Center 8 Udonthani


    3. สร้าง Google from และ Link ส้าหรับเครือข่ายประเมินตนเอง พร้อมแนบหลักฐาน และจัดเก็บหลักฐานอย่างเป็นระบบ

                                                             ่
    4.ประเมินคุณภาพตามหลักฐานและสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ สงผลให้สามารถด้าเนินแล้วเสร็จตามเป้าหมาย 49 แห่งคิดเป็น
    ร้อยละ 100 จ้าแนกเป็นศูนย์แจ้งเตือนภัยฯ ระดับเข้มแข็ง มีคะแนน 80 -100 จ้านวน 19 แห่ง ระดับพัฒนา มีคะแนน
    70 – 79 จ้านวน 18 แห่ง และ ระดับก้าลังพัฒนา คือมีคะแนน 50 – 69 จ้านวน 8 แห่ง ส้าหรับเครือข่ายที่ไม่ผ่านการ

    ประเมินจ้านวน 4 แห่งส่วนใหญ่ติดปัญหาด้านปัจจัยขั้นพื้นฐาน เรื่อง การมอบหมายผู้รับผิดชอบทดแทนการโยกย้ายของคน
    เดิม  ไม่มีแผนปฏิบัติงาน/งบประมาณรองรับงานเฝ้าระวัง ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ และ ขาดความเชื่อมโยงหรือมีส่วนร่วม

    ระหว่างภาคีเครือข่ายในชุมชน เป็นต้น
                  ปัจจัยของความส าเร็จ คือ 1. องค์กร มีความพร้อมในการสนับสนุนทรัพยากรและเทคโนโลยี และส่งเสริม

    การพัฒนาเว็ปไชต์ กรมวิทย์ with you 2.สัมพันธภาพที่ดีระหว่าง ภาคีเครือข่าย และการยอมรับรูปแบบการติดตามผลงาน
                                                                               ์
    เพื่อธ้ารงรักษาสภาพ 3.ความเข้มแข็งของทีมขับเคลื่อนงานวิทยาศาสตร์การแพทยชุมชนของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ทั้ง 15
                                                                  ั
    แห่ง และ 4.เพิ่มกลไกการรายงานผลการประเมินศักยภาพให้ผู้บังคบบัญชาของเครือข่ายรับทราบ เช่น นายแพทย์สาธารณสุข
    จังหวัด

                  นวัตกรรม 1 จังหวัด 1 อ้าเภอ ที่มีการน้าแนวคิดการขับเคลื่อนงานคบส.ด้วยวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน
    (Input) ภายใต้ พชอ. หรืออื่นๆในแนวทางการป้องกันและจัดการปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพเชิงระบบ ได้แก่ จังหวัดหนองบัวล้าภู
    และ อ้าเภอประจักษ์ศิลปาคม จังหวัดอุดรธานี
               ประโยชน์ที่ได้รับ
                  1. ต่อองค์กร : มีศูนย์แจ้งเตือนภัยฯ เป็นเครือข่ายห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์การแพทย์ด้านคุ้มครองผู้บริโภค
    ระดับต้าบล ลดความซ้้าซ้อนการส่งตรวจตัวอย่าง เป็นศูนย์กลางในการสื่อสารความเสี่ยงให้กับชุมชน
                  2. ต่อสังคม : ประชาชน ได้รับการคุ้มครองตามสิทธิผู้บริโภค
                  3. ต่อเศรษฐกิจ : การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ลดภาระค่าใช้จ่ายในการส่งตรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพ
    ค่ารักษาพยาบาล รวมถึงภาระค่าใช้จ่ายในครัวเรือนจากการดูแล รักษาผู้ได้รับผลกระทบจากอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์
    สุขภาพที่ไม่ปลอดภัย
                  แนวทางการพัฒนาเครือข่ายวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนในปีงบประมาณ 2565 :
                             ์
                  1. กรมวิทยฯ MOUกับเครือข่ายในระดับต้นสังกัด ก้าหนดเป็นภารกิจส้าคัญระดับเขต/ประเทศ
                  2. ธ้ารงรักษาและพัฒนา ยกระดับศูนย์แจ้งเตือนภัยฯให้ได้ระดับที่สูงขึ้น
                  3. สร้างองค์ความรู้ใหม่ งานเฝ้าระวัง งานความเสี่ยง และงานควบคุมโรคและถ่ายทอดในระดับพื้นที่
                  4. พัฒนาและขยายผลหลักสูตร ทีมประเมินระดับเขต/จังหวัด และทีมพี่เลี้ยงระดับต้าบล
                  5. สร้างช่องทางการเข้าถึงชุดทดสอบ
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54