Page 51 - รายงานประจำปี2564ศวก.ที่8อุดรธานีWeb
P. 51
รายงานประจ าปี 2564 | Annual Report 2021 50
ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี | Regional Medical Sciences Center 8 Udonthani
69 คนที่ผ่านการประเมินความสามารถแต่ไม่ได้เป็นหมอประจ้าบ้าน นอกจากนี้ยังพบว่ามีอสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน
หลายคนยังไม่ลงทะเบียนในฐานข้อมูล ดังนั้น จึงต้องท้าการทบทวนฐานข้อมูลอย่างต่อเนื่องและเป็นปัจจุบันต่อไป
ปัจจัยที่ท าให้ส าเร็จ 1.มีเครืองมือ Google from ในการจัดเก็บข้อมูล 2.มีหลักสูตรออนไลน์ที่สามารถ
น้าไปใช้ได้จริงและเหมาะสมกับสถานการณ์ 3.ผู้บริหารยอมรับการเปลี่ยนแปลงจากผลกระทบโควิด19 ที่เกินกว่าจะควบคุม
ผลผลิตที่เป็นองค์ความรู้ใหม่ คือ มีแอพพิเคชั่นการตัดแยกเห็ดพิษ ที่ครอบคลุมทั้งชุดสื่อให้ความรู้
แบบสิ่งพิมพ์ที่เป็นคู่มือส้าหรับพี่เลี้ยง ได้แก่ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ เจ้าหน้าที่ประจ้าศูนย์แจ้งเตือนภัยฯ รวมถึงทีมระบาด
ี
ของจังหวัด/อ้าเภอ ฯลฯ สื่อวีดทัศน์ ที่เผยแพร่และจัดเก็บในเว๊ปไชต์ กรมวิทย์ with you ที่ทุกคนสามารถเข้าถึงง่าย รวมถึง
เทคนิค กระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่อง เห็ดพิษ
ประโยชน์ที่ได้รับ
1.ต่อองค์กร : 1.ทีมขับเคลื่อนงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน มีทักษะและประสบการณ์ใหม่ที่เกิด
จากการบูรณาการระหว่างงาน 2.มีเครือข่าย อสม.นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน เป็นสื่อกลางในการน้าองค์ความรู้และ
เทคโนโลยีที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ศึกษา วิจัย พัฒนาขึ้นมาได้น้าไปใช้ประโยชน์ได้จริง
2. ต่อสังคม : ชุมชน มีพลังในการป้องกัน เฝ้าระวัง และแจ้งเตือนภัยในชุมชนที่เข้มแข็ง โดยการ
รวมตัวของ อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน จัดตั้งเป็น ชมรมนักวิทย์ฯชุมชนเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค น้าร่อง 14 ชมรม
ที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
3. ต่อเศรษฐกิจ : 1.หาก อสม.วิทย์ฯ เข้มแข็ง สามารถคัดกรองผลิตภัณฑ์กลุ่มเสี่ยงและจัดเก็บ
ฐานข้อมูลอย่างเป็นระบบ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อชุดทดสอบ 2.ประชาชนลดความเสี่ยงจากการใช้สินค้าที่ไม่ปลอดภัย
และไม่หลงเป็นเหยื่อสินค้นออนไลน์และขายตรง
แนวทางการพัฒนาเครือข่ายวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนในปีงบประมาณ 2565
ด้วยสถานการณ์แพร่ระบาด ระบบการเรียนรู้ออนไลน์ พร้อมระบบการประเมินผลโดยใช้ผ่านมือถือ
หรือคอมพิวเตอร์จะช่วยได้มาก อสม.สามารถเรียนรู้ได้ตามเวลาที่สะดวกภายในระยะเวลาที่ก้าหนด ไม่กระทบการด้าเนินชีวิตขอ
งอสม. รวมถึง อสม.ที่รักษาสภาพ สามารถทบทวนความรู้ได้อย่างต่อเนื่อง และสามารถน้าไปใช้ถ่ายทอดให้กับคนในชุมชน
แบบพี่สอนน้องเพื่อขยายเครือข่ายได้ด้วย ดังนี้
1. พัฒนาความรู้ สื่อการถ่ายทอดแบบออนไลน์ที่ครอบคลุมปัญหาสุขภาพ เช่น พืชพิษ สัตว์พิษ
วัตถุอันตรายในครัวเรือน รวมถึงการใช้พืชสมุนไพรอย่างถูกต้อง เป็นต้น
2. เพิ่มทักษะการสื่อสาร รับเรื่องร้องเรียนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่เหมาะสม
แต่อย่างไรก็ตาม ด้วยคุณลักษณะจ้าเพาะของหลักสูตร ที่มุ่งเน้น การผลิตผู้ช่วยบุคลากรทาง
การแพทย์ ที่มีทักษะเฉพาะด้านการใช้ชุดทดสอบอย่างง่าย หรือเทคโนโลยีในการคัดกรอง ตรวจสอบความปลอดภัยใน
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ เห็นควรเพิ่มกระบวนการทดสอบความช้านาญด้วยการใช้ชุดทดสอบอย่างง่ายในการรักษาสภาพอสม.
วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนที่ได้รับปลอกแขนอย่างน้อย 2 ปี/ครั้ง