Page 42 - รายงานประจำปี2564ศวก.ที่8อุดรธานีWeb
P. 42
รายงานประจ าปี 2564 | Annual Report 2021 41
ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี | Regional Medical Sciences Center 8 Udonthani
การพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ด้านอาหาร สู่ Smart Product
จิตติพร ศรีสร้อย, ภัทรกานต์ พลทัสสะ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้จัดท้าโครงการพัฒนาเครือข่ายวิทยาศาสตร์
การแพทย์ชุมชน ประจ้าปี พ.ศ. 2564 การพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ด้านอาหารสู่ Smart
Product โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ประกอบการ SMEs/OTOP มีองค์ความรู้ในการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหาร ให้มี
คุณภาพปลอดภัยได้มาตรฐาน และสามารถยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์สู่ Smart Product ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8
อุดรธานี ได้เข้าร่วมด้าเนินงานตามโครงการดังกล่าว โดยความร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายในพื้นที่ ได้แก่ ส้านักงาน
สาธารณสุขจังหวัดหนองบัวล้าภู นครพนม และบึงกาฬ ในการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ
ศูนย์ฯ ได้ประสานงานกับส้านักงานสาธารณสุขจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อคัดเลือกผู้ประกอบการและ
ผลิตภัณฑ์ ที่พร้อมจะพัฒนาสู่ Smart/Safety Product ในปีงบประมาณ 2564 จ้านวน 3 กลุ่ม 3 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่
1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สู่ Smart/Safety Product ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1.1 ศูนย์สามารถพัฒนาได้ 3 ผลิตภัณฑ์ (จากแผน 2 ผลิตภัณฑ์ ด้าเนินการได้เกินกว่าเป้าที่ตั้งไว้)
- ปลาร้าบองสุก จาก กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านโนน จ. บึงกาฬ ได้รับ Smart Product
- ขนมไรซ์ป๊อบ ข้าวคุณแม่ จาก ร้านคุณแม่พาณิชย์ จ. นครพนม ได้รับ Safety Product
- ข้าวฮางผง จาก วิสาหกิจชุมชนข้าวฮางบ้านสุขส้าราญ จ. หนองบัวล้าภู ได้รับ Safety Product
1.2 ผลิตองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ้านวน 2 เรื่อง ได้แก่
- การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้้าสับปะรด
- การพัฒนาปลาร้าบองสุก
2. การเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ ที่ได้รับ Smart/Safety Product น
ใ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2563 ศูนย์สามารถด้าเนินกิจกรรมได้ครบร้อยละ
100 โดยตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ได้ 2 ผลิตภัณฑ์ และจัดส่งองค์ความรู้ด้านการ
พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้กับผู้ประกอบการ 1 แห่ง
์
การเฝ้าระวังผลิตภัณฑ ที่ได้รับ Smart/Safety Product ใ น
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2563
ปี พ.ศ. 2562 น้้าพริกปลาทูทรงเครื่องรสดั้งเดิม ของ บริษัท แม่มะลัย
(ประเทศไทย) จ้ากัด จ.อุดรธานี ได้รับ Smart Product ผลการด้าเนินงาน ศนย์ฯได้จัดส่งองค์
ู
ความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เป็น E-Book ผ่านโปรแกรม LINE ให้กับผู้ประกอบการ ซึ่งได้งด
ผลิตน้้าพริกปลาทูทรงเครื่องรสดั้งเดิม เนื่องจากได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
ปี พ.ศ. 2563 จ้านวน 2 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ น้้าสับประรดสกัด 100% และ ทองพับ
เห็ดไส้หมูหยอง ตรา วรรณา โดยได้เก็บตัวอย่างตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
พบว่า มีคุณภาพและความปลอดภัยตามมาตรฐาน