Page 161 - Advande_Management_Ebook
P. 161
พลต�ารวจตรี ดร.สุพิศาล ภักดีนฤนาถ 159
ในแง่ขององค์กรที่มีการขับเคลื่อน CSR-after-process ในลักษณะกิจกรรม
เพื่อสังคมซึ่งแยกต่างหากจากกระบวนการหลักทางธุรกิจเป็นส่วนใหญ่ อาจจะต้อง
ด�าเนินการปรับปรุงพัฒนาในส่วนของ CSR-in-process เพิ่มเติม เพื่อให้เข้าเกณฑ์
ESG เพิ่มขึ้น เนื่องจากผู้ลงทุนที่ใช้เกณฑ์ ESG มักจะให้ความส�าคัญกับ CSR-in-pro-
cess ที่เกี่ยวข้องเรื่องความเสี่ยงและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับองค์กร และกับผล
ประกอบการขององค์กร มากกว่าเรื่องของการบริจาคหรือโครงการสาธารณสุขต่างๆ
ด้วยเหตุนี้ องค์กรควรที่จะพิจารณาพัฒนาและมุ่งเน้นการด�าเนินงาน CSR-in-
Process ที่ผนวกเข้าสู่กระบวนงานทางธุรกิจและมีส่วนสัมพันธ์กับสถานะของกิจการ
เพื่อที่จะสามารถน�าผลการด�าเนินงานเหล่านั้น มาเรียบเรียงเป็นข้อมูฃ ESG เปิดเผย
แก่ผู้ลงทุน และสะท้อนอยู่ในบรรทัดสุดท้าย ในทางที่เสริมคุณค่าให้แก่กิจการ (สถาบัน
ไทยพัฒน์. 2561 : ออนไลน์) ซึ่งหลายหน่วยงานได้สร้างตังชี้วัด (Index) ไว้ในหลาย
องค์กร เช่น สถาบันไทยพัฒน์ ตลาดหลักทรัพย์ ธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นต้น
กระแส ESG: สิ่งแวดล้อม (Environment)
สังคม (Social) และกำรก�ำกับกำรที่ดี (Good Governance)
สิ่งแวดล้อม (Environment)
จากความต้องการของผู้ลงทุนที่มีต่อข้อมูลของบริษัทจดทะเบียนในปัจจุบัน
ไม่ได้จ�ากัดอยู่เพียงข้อมูลทางการเงิน ซึ่งเป็นการสะท้อนถึงผลประกอบการในอดีต
ผู้ลงทุนได้ให้ความส�าคัญของข้อมูลที่มิใช่ตัวเลขทางการเงินเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ค�าว่า
ESG ซึ่งย่อมาจาก Environmental, Social, and Governance จึงเกิดขึ้นในแวดวง
ตลาดทุน เพื่ออธิบายถึงประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และการก�ากับดูแล ที่เกี่ยวข้อง
กับบริษัทและการด�าเนินงานของบริษัท ซึ่งส่งผลต่อการตัดสินใจลงทุนสภาพการของ
สิ่งแวดล้อม (Environment) (สถาบันไทยพัฒน์. 2561: ออนไลน์)
นักบริหารจัดการยุคใหม่จะต้องค�านึงถึงและตระหนักถึงผลกระทบเชิงลบ ใน
การด�าเนินการธุรกิจที่เกิดขึ้นขององค์กรชุมชนและสังคมอย่างยิ่ง โดยเฉพาะสิ่งที่จะ
ต้องตระหนักให้มากที่สุด ในการท�าธุรกิจเพื่อการประกอบกิจกรรมใดๆ ในภาครัฐ
ก็ตาม จะได้รับแรงกดดันจากสังคมมากขึ้นเรื่อย ๆ ต่อการรับผิดชอบความเสียหายที่