Page 109 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 109
การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศด้านความพร้อมของอุตสาหกรรมและการเข้าถึงยา 95
ความเพียงพอของประเทศไทยที่มีหน่วยงานวิจัยและพัฒนาที่เชี่ยวชาญสามารถสนับสนุนศักยภาพ
ของอุตสาหกรรมการผลิตยาในประเทศพบว่าส่วนใหญ่มีหน่วยงานวิจัยและพัฒนาที่เชี่ยวชาญสามารถ
สนับสนุนศักยภาพของอุตสาหกรรมการผลิตยาในประเทศไม่เพียงพอ
ปัจจัยการสนับสนุนที่ส่วนใหญ่ต้องการเพิ่มเติมได้แก่ การท า technology transfer จาก Lab scale
ไปสู่ pilot plant การศึกษาในสัตว์ทดลอง (animal study) การท า technology transfer จาก pilot
plant ไปสู่ commercial scale และการท าวิจัยทางคลินิก
Human Capital
จ านวนบุคลากรประจ าทั้งหมดของบริษัทพบว่า มีจ านวน 124 - 278 คน ทุกแห่งไม่มีเภสัชกรท า
หน้าที่วิจัยและพัฒนาให้ได้สารออกฤทธิ์ใหม่และบริษัทไม่มีเภสัชกรที่ท าหน้าที่วิจัยสัตว์ทดลอง และสัดส่วนของ
เภสัชกรต่อบุคลากรด้านอื่น ๆ ดังแสดงในตารางที่ 9
ี่
ตารางท 9 แสดงสัดส่วนเภสัชกรต่อบุคลากรอื่น ๆ
บริษัท A B C
เภสัชกร: จ านวนวิชาชีพอื่น ๆ ที่ท าหน้าที่พัฒนากระบวนการ
ผลิต (process development) 3:3 1:1 1:66
เภสัชกร: จ านวนวิชาชีพอื่น ๆ ที่ท าหน้าที่พัฒนาต ารับ
(formulation) 1:0 - 1:66
เภสัชกร: จ านวนวิชาชีพอื่น ๆ ที่ท าหน้าที่ศึกษาวิจัยในมนุษย์
(clinical research) 1:0 - 5:38
เภสัชกร: จ านวนวิชาชีพอื่น ๆ ที่ท าหน้าที่ขึ้นทะเบียน 3:1 2:1 2:1
(regulatory affairs)
บริษัทสามารถหาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถที่จ าเป็นส าหรับการบรรลุวิสัยทัศน์ของกิจการ
พบว่า ทั้ง 3 บริษัท “พอหาได้แต่ไม่ง่ายนัก” โดยบุคลากรที่หายากคือ เภสัชกรที่มีความรู้และประสบการณ์
ด้านการวิจัยและพัฒนาชีววัตถุ ด้านการผลิต ด้านการประกันคุณภาพ และด้านการขึ้นทะเบียนชีววัตถุ
Global Trade & Investment
ในปี 2562 บริษัทมีศักยภาพในการจัดเตรียม substance ของผลิตภัณฑ์ พบว่าทั้ง 3 บริษัทมี
ศักยภาพในการจัดเตรียม substance ของผลิตภัณฑ์ แต่ในบางครั้งอาจจะจัดหา substance ได้ไม่เพียงพอ