Page 4 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 4

Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry
            ข
                 development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP


               จากการประมาณการมูลค่าการขายยาชีววัตถุคล้ายคลึง Pertuzumab และ Pembrolizumab พบว่ายอดขาย

               ยาชีววัตถุคล้ายคลึงต่อปีอยู่ที่ประมาณ 86-1400 ล้านบาท มีระยะเวลาคืนทุนตั้งแต่ 1 - 14 ปี โดยขึ้นอยู่กับ
               ส่วนแบ่งการตลาด อุบัติการณ์ ความชุกของโรค และการสนับสนุนจากภาครัฐ

                                                                                                        ื้
                       4. การประเมินผลกระทบความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าส าหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพน
               แปซิฟิก (CPTPP) ในข้อบท Patent linkage, Government procurement และ State owned Enterprise
               โดยใช้แบบจ าลองพลวัตรระบบ (System Dynamic Modeling) พบว่า จะหากเข้าร่วม CPTPP จะท าให้

               ประเทศไทยต้องมีค่าใช้จ่ายด้านยาเพิ่มขึ้นประมาณ 400,000 ล้านบาท เมื่อเทียบกับสถานการณ์ไม่เข้าร่วม

                                       ึ่
               ความตกลง ประเทศจะต้องพงพาการน าเข้ามากขึ้นถึง 89% เทียบกับ 76% ในสถานการณ์ไม่เข้าร่วมความตก
               ลง มูลค่าตลาดของอุตสาหกรรมยาภายในประเทศหายไปถึง 100,000 ล้านบาท เมื่อเทียบกับสถานการณ์ไม่

               เข้าร่วม

                       5. การประเมินผลกระทบของข้อเสนอนโยบายทางเลือกในการพัฒนาอุตสาหกรรมยา โดยใช้
               แบบจ าลองพลวัตรระบบ โดยเพิ่มระดับความสามารถในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีระดับเทคโนโลยีที่

               สูงขึ้น และการเพิ่มขนาดมูลค่าของอุตสาหกรรมยาให้สูงขึ้น เพื่อให้อุตสาหกรรมยาเป็นอุตสาหกรรมหลักที่

               สร้างรายได้ให้กับประเทศ พบว่า เมื่อจ าลองสถานการณ์ของอุตสาหกรรมยาชีวภาพ และยาเคมีตั้งแต่ปี 2562
               – 2590 แยกออกเป็น 2 สถานการณ์ ได้แก่ (1) สถานการณ์ที่ทุกอย่างด าเนินไปตามปกติ (business as

               usual, BAU) ประเทศยังคงส่งเสริมอุตสาหกรรมยาในประเทศในรูปแบบ และระดับที่ด าเนินการอยู่แล้ว และ

               (2) สถานการณ์หากมีการด าเนินการตามข้อเสนอนโยบายเพื่อพัฒนา และส่งเสริมอุตสาหกรรมยา
               ภายในประเทศอย่างเป็นระบบ ผลการประเมิน พบว่า หากประเทศไทยมีการด าเนินนโยบายส่งเสริม และ

               พัฒนาอุตสาหกรรมยาอย่างเป็นระบบ และบรรลุเป้าหมายตามข้อเสนอในฐานะอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ที่

               นอกจากจะเป็นรากฐานส าคัญของความมั่นคงของระบบสุขภาพแล้ว ในปี 2590 อุตสาหกรรมผลิตยาใน
               ประเทศจะเป็นอุตสาหกรรมที่สามารถสร้างรายได้ให้กับประเทศจากมูลค่าเพิ่มที่เกิดจากการขยายการลงทุน

               และการส่งออกผลิตภัณฑ์ยาที่ผลิตภายในประเทศซึ่งมีมูลค่ารวม 708,106 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2 ของ

               GDP ในปี 2590
   1   2   3   4   5   6   7   8   9