Page 97 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 97

การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศด้านความพร้อมของอุตสาหกรรมและการเข้าถึงยา   83


               ปรับปรุงพัฒนาระบบ  (Impact Value per Band Improvement) โดยมีรายละเอียดแต่ละปัจจัยและวิธีการ


               ค านวณดังภาคผนวก ง.

                       The Singapore Smart Industry Readiness Index มีโรงงานอุตสาหกรรมน าการประเมินความ

               พร้อมต่อการก้าวเข้าสู่อุตสาหกรรม 4.0 ไปใช้กว่า 200 แห่ง มีขนาดกลางและขนาดเล็กร้อยละ 33 แบ่งตาม

               กลุ่มอุตสาหกรรมได้ 13 กลุ่มใหญ่ ใน 14 ประเทศทั่วโลก ตั้งแต่ปี ค.ศ.2018 – 2019 พบว่ามีการท าก าไร
                                                          42
               เพิ่มขึ้นมากกว่า 100 ล้านดอลล่า คิดเป็นร้อยละ 51

                                                                                                        ื่
                       การประเมินด้วย The Singapore Smart Industry Readiness Index ประเทศสิงคโปร์ใช้เพอ
               ประเมินความพร้อมของอุตสาหกรรมเพื่อก้าวเข้าสู่อุตสาหกรรม 4.0 ดังนั้นหากน า The Singapore Smart

               Industry Readiness Index มาประเมินในไทยอาจไม่เหมาะสมเนื่องจากประเทศไทยยังขาดนโยบายที่ชัดเจน

               ในการพัฒนาอุตสาหกรรมยาให้เข้าสู่อุตสาหกรรม 4.0


                       การพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศไทยอาจจ าเป็นต้องใช้ปัจจัยหลายด้าน พบการศึกษาเกี่ยวกับการ
               พัฒนายาใหม่ของอุตสาหกรรมยาต้องใช้ปัจจัยหลายด้าน ดังการศึกษาของ Yousefi, Mehralian, Rasekh, &

               Yousefi, 2017 เรื่อง“New Product Development in the Pharmaceutical Industry: Evidence from

                                 43
               a generic market”  จากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อความส าเร็จของการพัฒนา
               ผลิตภัณฑ์ใหม่พบว่า มีปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อความส าเร็จของการพัฒนายาใหม่ ดังนี้


                       1. ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกบบริษัท (Company-related factors)
                                              ั

                       2. ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับตัวผลิตภัณฑ์ (Product-related factors)

                       3. ปัจจัยภายนอกที่เกี่ยวข้อง (External context-related factors)


                       จากปัจจัยหลักทั้งสามข้อข้างต้นนั้นได้มีการทบทวนวรรณกรรมและสามารถจัดเป็นปัจจัยย่อยขั้นที่ 1

               และขั้นที่ 2 ได้ดังตารางที่ 5














               42
                  EBD Singapore. (2019). MANUFACTURING INSIGHTS REPORT 2019 TRANSFORMATION.
               43  Yousefi, N., Mehralian, G., Rasekh, H. R., & Yousefi, M. (2017). New product development in the

               pharmaceutical industry: Evidence from a generic market. Iranian Journal of Pharmaceutical Research,
               16(2), 831–843. https://doi.org/10.22037/ijpr.2017.2058
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102