Page 100 - รายงานประจำปี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2566
P. 100
การพัฒนากำลังคน (Re-skill, Up-Skill, New-Skill) ที่ตอบโจทย์อุตสาหกรรมเป้าหมายและ EEC
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีได้ตระหนักถึงความสำคัญของศักยภาพด้านกำลังคนที่ตอบโจทย์
อุตสาหกรรมเป้าหมายและ EEC โดยได้นำองค์ความรู้ด้านวิชาการในทุกแขนงมาใช้ร่วมกัน และสร้างสรรค์หลักสูตร
การเรียนการสอนที่ตอบสนองต่อความต่อการของประเทศ
โดยในปีการศึกษา 2565 มีผู้ที่ได้รับการพัฒนา หรือเข้ามาใช้บริการศึกษา อบรม ปรึกษา และใช้บริการห้อง LAB
จำนวน 1,176 คน แบ่งเป็นจำนวนคนที่ได้รับการอบรมหลักสูตระยะสั้นจากคณะ 1,007 คน โดยคณะที่มีผู้สนใจ
เข้ามาศึกษาได้แก่ หลักสูตรนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่ หลักสูตรนวัตกรรมการผลิตโคเนื้อคุณภาพพรีเมี่ยม
เพื่อตลาดระดับบน หลักสูตรการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุและเส้นใยธรรมชาติ หลักสูตรเทคโนโลยีการพิมพ์ออฟเซตและ
การควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ และหลักสูตร การบริหารโลจิสติกส์และซัพพลายเชนสมัยใหม่ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมี
จำนวนผู้เรียนในหลักสูตร Credit Bank 169 คน โดยหลักสูตร Credit Bank ที่มีผู้สนใจเข้ามาศึกษาได้แก่ หลักสูตรการจัดการ
โลจิสติกส์และซัพพลายเชน หลักสูตรเทคโนโลยีการพิมพ์ดิจิทัลและบรรจุภัณฑ์ หลักสูตรวิศวกรรมวัสดุ และหลักสูตร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสาร เป็นต้น
การพัฒนาชุมชนให้มีขีดความสามารถ 1) วิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวฮักสนั่นรักษ์
ในการจัดการของตนเอง (Smart community) คณะเทคโนโลยีการเกษตรเป็นผู้ดำเนินการจัด
มีศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม โครงการการถ่ายทอดเทคโนโลยีในการเพิ่มมูลค่าและ
การพัฒนาผลิตภัณฑ์เบเกอรี่เพื่อสุขภาพ โดยมีผลิตภัณฑ์
ในปีการศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
เพิ่มขึ้น จำนวน 3 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ เค้กหน้าฝอยทอง
ราชมงคลธัญบุรี ได้กำหนดการพัฒนาชุมชนเป้าหมาย
เค้กหน้าผลไม้ และวอฟเฟิลไส้ทะลัก
และชมชนที่มีความร่วมมือได้รับการยกระดับคุณภาพ
ุ
ชีวิตให้ดีขึ้น จำนวน 238 ชุมชน โดยการบริการวิชาการ 2) ชุมชนวังตะเคียน จ.ปราจีนบุร ี
และการรับผิดชอบต่อสังคม น้อมนำหลักปรัชญา คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์เป็นผู้ดำเนินการ
เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการบรรลุเป้าหมาย จัดกิจกรรมฝึกอบรมการเพิ่มศักยภาพผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น
ซึ่งมีตัวอย่างผลการดำเนินงานที่สำคัญ ดังนี้ ตามแนวความคิด BCG เพื่อเพิ่มมูลค่าในเชิงพาณิชย์
โดยผลิตภัณฑ์ได้รับการยกระดับให้มีความทันสมัย และ
มีลวดลายที่แปลกใหม่
3) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มปลูกม่อนเลี้ยงไหม
คณะบริหารธุรกิจเป็นผู้ดำเนินกิจกรรม
“อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการทำธุรกิจโดยใช้สื่อ
ออนไลน์ สำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนการแปรรูปและ
ผลิตภัณฑ์อาหาร” โดยคนในชุมชนมีองค์ความรู้ด้านการ
ผลิตสินค้า และจำหน่ายออนไลน์
4) ต.บ้านแพรก จ.พระนครศรีอยุธยา
คณะวิศวกรรมศาสตร์เป็นผู้ดำเนินกิจกรรม
“โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์กระยาสารท” โดยยกระดับ
สินค้าให้มีความทันสมัยและน่าสนใจ
รายงานประจำปี 2565
98
Annual Report 2022