Page 6 - Ebookการวิเคราะห์ข้อมูล New
P. 6

หนIวยการเรียนรูJที่ 3 การวิเคราะหKขJอมูล | 3.1 การวิเคราะหKเชิงพรรณนา   5




                       ส;วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ใช2ในการวัดการกระจายของชุดข2อมูล จะมีค;าเปNนบวกเสมอ และมีหน;วย

                เดียวกับค;าของข2อมูล ถ2าส;วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค;าน2อยหรือใกล2ศูนยJ หมายถึง ข2อมูลมีการกระจายน2อยมาก
                หรือข2อมูลเกาะกลุ;มกัน แต;ถ2าส;วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค;ามาก จะหมายถึงข2อมูลมีการกระจายมากหรือข2อมูลม ี

                ความแตกต;างกันมากนั่นเอง นักสถิตินิยมใช2ค;าส;วนเบี่ยงเบนมาตรฐานนี้ในการวัดการกระจาย เนื่องจากมีการ

                ใช2ข2อมูลทุก ๆ ค;า หรือมีการนำข2อมูลทุกตัวมาคำนวณ ซึ่งจะทำให2ค;าการกระจายมีความละเอียดถูกต2อง และ
                เชื่อถือได  2

                                                                                  2
                       เชน หากตองการหาสวนเบ่ยงเบนมาตรฐานของอายลกคาจากขอมลท่ไดจากข้นตอนการเตรียมขอมล
                                2
                                                                                ี
                         ;
                                                                           2
                                                                              ู
                                                                                       ั
                                                                   ู
                                                                  ุ
                                                                                                         ู
                                                                                                      2
                                         ;
                                                                     2
                                             ี
                เพื่อนำไปวิเคราะหJหากลุ;มเปyาหมาย สามารถทำได2 ดังน  ี้
                              ค;าเฉลี่ย     =       24 + 32 + 29 + 28 + 25 + 32 + 40
                                                                  7
                                            =       210
                                                     7
                                            =       30

                                                                                             2
                            X i                         X i - X                        (X i - X)
                                                                                         2
                           24                            -6                            -6 = 36
                                                                                         2
                           32                             2                             2  = 4
                                                                                         2
                           29                            -1                             -1  = 1
                                                                                         2
                           28                            -2                             -2  = 4
                                                                                         2
                           25                            -5                            -5  = 25
                           32                             2                             2  = 4
                                                                                         2
                                                                                        2
                           40                            10                           10  = 100
                                                                       รวม               174


                              ส;วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)   =     " %&'         ≈       5.39
                                                                    &-%


                3. การหาความสัมพันธ=ของชุดข0อมูล

                       การวิเคราะหความสัมพันธJเชิงเส2นระหว;างข2อมูล 2 ชุด (Pairwise) จะบ;งบอกถึงทิศทาง (Direction)
                                  J
                ของความสัมพันธJ ทิศทางของความสัมพันธJสามารถพิจารณาได2 2 กรณี คือ
                       ความสัมพันธ*เชิงบวก  หมายความว;า  สิ่งที่สนใจทั้งสองสิ่งมีการเพิ่มขึ้นหรือลดลงไปใน ทิศทาง

                เดียวกัน เช;น ค;าของ X เพิ่มขึ้น ↑ ค;าของ Y จะเพิ่มขึ้น ↑

                       ความสัมพันธ*เชิงลบ  หมายความว;า  สิ่งที่สนใจทั้งสองสิ่งมีการเพิ่มขึ้นหรือลดลงไปใน ทิศทางตรงกัน

                ข2าม เช;น ค;าของ X เพิ่มขึ้น ↑ ค;าของ Y กลับลดลง ↓






                    เอกสารประกอบการเรียนรหัสวิชา ว 32103 รายวิชาวิทยาการคำนวณ 2  ชั้นมัธยมศึกษาปAที่ 5 | ครูธนเดช ลี้เลิศธนกุล
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11