Page 11 - Ebookการวิเคราะห์ข้อมูล New
P. 11
หนIวยการเรียนรูJที่ 3 การวิเคราะหKขJอมูล | 3.2 การวิเคราะหKเชิงทำนาย 2
การทำนายข0างต0น ทำได0โดยการนำข0อมูลในอดีต (สภาพอากาศ ปริมาณน้ำฝนในพื้นที่ หรือจำนวน
นักเรียนที่ฝากถอนเงินในแต<ละวัน) มาวิเคราะห+หาความสัมพันธ+ระหว<างชุดข0อมูลและสร0างแบบจำลองในการ
ทำนาย 2 วิธี คือ การทำนายโดยใช0กราฟ และการทำนายโดยใช0สมการเชิงเส0น
1.1 การทำนายโดยใชFกราฟ คือ การทำนายค<าจากเส0นแนวโน0ม มีขั้นตอนดังน ี้
1) สรFางแผนภาพการกระจาย แผนภาพนี้ทำให0ทราบรูปแบบ
ความสัมพันธ+ของข0อมูลคร<าว ๆ โดยค<าที่อยู<บนแกน y แทนจำนวนของสิ่ง
ที่เราสนใจ เช<น จำนวนม0าลาย และค<าที่อยู<บนแกน x แทนข0อมูลที่ทราบ
ค<าและคาดว<าจะมีความสัมพันธ+กับ y ในที่นี้คือจำนวนวัวปnา
่
0
0
5
0
F
F
ี
ี
0
่
2) ลากเสนแนวโนม เสนแนวโนมเปนเสนตรงทลากผ<านจุดต<าง ๆ ทอยู<บนแผนภาพการกระจายใหได 0
จำนวนมากที่สุด (Line of best fit) โดยจำนวนจุดที่อยู<เหนือเส0น และใต0เส0นควรมีปริมาณใกล0เคียงกัน
ดังตัวอย<างของสุนัขจิ้งจอกที่สร0างแผนภาพการกระจาย ซึ่งพบว<า
จำนวนวัวปnา (x) และจำนวนม0าลาย (y) มีความสัมพันธ+แบบเชิงเส0นต<อ
ั
กัน ซึ่งหากต0องการจะประมาณค<าจำนวนม0าลาย เมื่อทราบจำนวนวว
ปnา เราต0องลากเส0นตรงผ<านจุดต<าง ๆ ในแผนภาพการกระจายให0มาก
ที่สุด เราเรยกเส0นตรงนี้ว<า "เสนแนวโนม" และใช0เส0นแนวโน0มนี้ในการ
$
$
ี
ประมาณค<าจำนวนม0าลาย
พิจารณนาเส0นตรงในแต<ละภาพ ไม<มีเส0นตรงในภาพใดที่สามารถ
ลากผ<านได0ครบทุกจุด แต<จะเห็นว<า เส0นตรงในภาพ (c) ผ<านจุดต<าง ๆ
ในแผนภาพการกระจายมากกว<าภาพอื่น ๆ เส0นตรงในภาพ (a) มี
จำนวนจุดที่อยู<ใต0เส0นค<อนข0างมาก ในขณะที่เส0นตรงในภาพ (b) มี
จำนวนจุดทั้งเหนือเส0นและใต0เส0นใกล0เคียงกัน ดังนั้น เส0นตรงในภาพ
(c) จึงเหมาะสมที่จะเป5นเส0นแนวโน0ม
3) ทำนายคRาจากเสFนแนวโนFม ประมาณค<าจากเส0นแนวโน0ม ในที่นี้ให0 y เป5นค<าที่ต0องการทำนาย
0
และ x เป5นข0อมูลที่ทราบค<า ที่มีความสัมพันธ+กับ y ในการทำนายให0กำหนดจุดที่ทราบค<าบนแกน x แลว
ลากเส0นจากจุดน้นขนานกับแกน y ไปตัดเส0นแนวโนม แล0วลากเส0นจากจุดตัดบนเส0นแนวโนม ขนานกับแกน x
0
ั
0
ไปตัดที่แกน y จะได0ค<า y ซึ่งเป5นค<าที่ต0องการทำนาย
เช<น หากสิงโตต0องการทราบว<า ถ0ามีจำนวนวัวปnาประมาณ 85 พันตัว (85,000 ตัว) แล0วอยากทราบ
จำนวนม0าลายมีเท<าไร
เอกสารประกอบการเรียนรหัสวิชา ว 32103 รายวิชาวิทยาการคำนวณ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปAที่ 5 | ครูธนเดช ลี้เลิศธนกุล