Page 128 - แผนการสอน 63-2
P. 128

2

                                                วิทยาศาสตร์ (ว 21104)  ชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 1

               การเปลี่ยนสถานะจากของแข็งให้เป็นของเหลว


                         1.  การเปลี่ยนสถานะจากของแข็งให้เป็นของเหลว  ต้องใช้พลังงานความร้อนจ้านวนหนึ่ง  ความร้อน
               นี เรียกว่า   "ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของสาร"   จากการท้ากิจกรรมที่ผ่านมา   จะเห็นว่าเมื่อให้ความ

               ร้อนแก่น ้าแข็ง  น ้าแข็งจะเปลี่ยนสถานะเป็นน ้าโดยอุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง   พลังงานความร้อนที่ใช้ในการ
               เปลี่ยนสถานะของน ้าแข็งให้เป็นน ้า  เรียกว่า  "ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน ้าแข็ง"  ในทางตรงข้าม
                               ๐
               ถ้าท้าให้น ้า   0 C   ให้เปลี่ยนสถานะเป็นน ้าแข็งที่  0 C   จะต้องน้าพลังงานความร้อนออกไปเช่นกัน
                                                                  ๐
                          2.   ความร้อนแฝงจ้าเพาะของการหลอมเหลวของน ้าแข็ง   คือ   พลังงานความร้อนที่ท้าให้น ้าแข็ง
               มวล  1  กรัม  เปลี่ยนสถานะเป็นน ้า  โดยอุณหภูมิคงที่  อาจเขียนแผนภาพเเสดงการเปลี่ยนแปลงสถานะของ
               น ้าแข็งให้เป็นน ้า  ได้ดังแผนภาพข้างล่าง











                                                                                            ๐
                         ถ้าเรามีน ้าแข็ง  1  กรัม  ที่ 0  C  จะท้าให้หลอมเหลวเปลี่ยนเป็นน ้า  1  กรัม ที่ 0  C  ต้องใช้ความ
                                                ๐
                                                                                              ๐
                                                                    ๐
               ร้อน  80 แคลอรี  ในทางตรงข้าม  ถ้าจะท้าให้น ้า  1  กรัม  ที่ 0 C เป็นน ้าแข็ง  1  กรัม  ที่ 0 C จะต้องคาย
               ความร้อน  80 แคลอรี  ดังนั นค่าความร้อนแฝงจ้าเพาะของการหลอมเหลวของน ้าแข็งเท่ากับ  80  แคลอรีต่อ
               กรัม


               การค้านวณหาปริมาณความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของสาร


                                                      สูตร  Q = ml


                                                              ็
                         เมื่อ   Q  =   ปริมาณความร้อนแฝง  มีหน่วยเปนแครอลี่  (cal)  หรือกิโลแคลอรี (kcal) หรือจูล(J)
                                 m  =   มวลของสาร  มีหน่วยเป็นกรัม  (g)  หรือกิโลกรัม(kg)
                                  l   =   ความร้อนแฝงจ้าเพาะของสารมีหน่วยเป็นแคลอรีต่อกรัม (cal/g) หรือกิโลแคลอรีต่อ
               กิโลกรัม(kcal/kg) หรือจูลต่อกิโลกรัม(J/kg)
                                             ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว                   =     80    cal/g
                                             ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ                  =    540  cal/g


                 ตัวอย่างที่  1  น ้าแข็ง  50 กรัม  หลอมเหลวเปลี่ยนเป็นน ้าที่  0  C จะต้องใช้ความร้อนทั งหมดเท่าไร
                                                                      ๐
                                   วิธีท้า                    จากสูตร  Q = ml
                                    ในที่นี   m  =  50  กรัม  l   =  80  แคลอรีต่อกรัม
                                                               แทนค่าได้        Q                =  50g x 80 cal/g

                                                                                                     =  1000 cal
                                   ตอบ  พลังงานความร้อนที่ใช้เท่ากับ  4000 cal
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133