Page 3 - แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา ปี 60-62
P. 3

9. สื่อการเรียนรู้/ 10. การวัดและประเมินผล
                          8.  กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
                                                                           แหล่งการเรียนรู้   การเรียนรู้/หมายเหตุ

            คาบที่ 22
                          ู
            ขั้นรวบรวมข้อมล                                               1. ใบงาน          1. การส่งใบงาน
                                ่
                1. ตัวแทนนักเรียนอานบทสนทนาของนิดกับทีม จากนั้นร่วมกันแสดง 2. แผนภูมิพีระมิด  2. การซักถาม
            ความคิดเห็นในประเด็นที่ก าหนด                                 3. แบบประเมิน
                                                                   ั
                   - นักเรียนคิดว่าสุขภาพกายและสุขภาพจิตมีความสัมพนธ์กัน
                             ั
            หรือไม่อย่างไร (สัมพนธ์กัน เพราะการเจ็บป่วยทางกายย่อมส่งผลด้านลบ
            ต่อสภาพจิตใจด้วย)

                                                        ั
                2. นักเรียนแบ่งกลุ่มร่วมกันยกตัวอย่างความสัมพนธ์ระหว่างสุขภาพ
            กายและสุขภาพจิตมากลุ่มละ 1 อย่างไม่ซ้ ากัน
            ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้
                1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ว่าระหว่างสุขภาพกาย

            สุขภาพจิตและพฤติกรรมที่แสดงออกว่ามีความเกี่ยวข้องกันหรือไม่
            อย่างไร (มีความเกี่ยวข้องกัน เนื่องจากสุขภาพกายและสุขภาพจิตมี
            ความสัมพนธ์กันและกันอนจะน าไปสู่การแสดงออกของพฤติกรรมต่างๆ
                                  ั
                     ั
            ตามมา)
                                                     ู
                2. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันตรวจสอบความถกต้อง ปรับปรุงแก้ไขให้
            สมบูรณ์แล้วช่วยกันสรุปความรู้ให้สมบูรณ์
            ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ

                                     ี
                1. นักเรียนศึกษาแผนภูมิพระมิด แสดงภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย
            ทางจิต ทางสังคมและทางจิตวิญญาณมาให้นักเรียนดูที่หน้าชั้น นักเรียน
            พิจารณาความสัมพันธ์ของภาวะต่างๆ
                2. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ความสัมพนธ์ระหว่างสุขภาพกาย
                                                   ั
            สุขภาพจิตและพฤติกรรมลงในใบงาน

                3. นักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของชิ้นงานและสรุปถึง
            ความสัมพันธ์ดังกล่าว
            ขั้นสื่อสารและน าเสนอ

                                                                  ั
                1. ตัวแทนนักเรียนน าเสนอผลงานการวิเคราะห์ความสัมพนธ์ของ
                                             ื่
            สุขภาพกายและสุขภาพจิต โดยให้เพอนๆในห้องช่วยกันตรวจสอบ
            ความถูกต้อง
            ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ

                1. นักเรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมโดยช่วยกันตอบค าถาม
                  - นักเรียนคิดว่าการมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่สมดุลจะส่งผลต่อ
            คนรอบข้างหรือไม่ อย่างไร (การมีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง ไม่มีโรค
            มีสิ่งแวดล้อมที่ดีส่งเสริมสุขภาพจะส่งผลให้จิตใจแจ่มใส  สามารถอยู่

            ร่วมกับครอบครัว ชุมชนและสังคมได้ อย่างมีความสุข ส่งผลให้สังคมมี
            ความเข้มแข็งกระท าแต่สิ่งที่ดีให้เกิดขึ้นอย่างถาวร)
                จากนั้นนักเรียนช่วยกันบอกแนวทางการปรับตัวที่เหมาะสมเพอให้กาย
                                                                 ื่
            และจิตมีความสมดุล
   1   2   3   4   5   6   7   8