Page 29 - 2. รายงานสถานการณ์คุณภาพน้ำผิวดิน สคพ.4 _2565
P. 29
25
ตารางที่ 4.1 บริเวณที่มีปัญหาคุณภาพน้ำเสื่อมโทรม ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาคุณภาพน้ำเสื่อมโทรม (ต่อ)
แหล่งน้ำผิวดิน บริเวณที่มีปัญหา และสาเหตุปัญหา ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา
คุณภาพน้ำเสื่อมโทรม
แม่น้ำน่าน (ต่อ) ร้านอาหาร ศาสนสถาน และสถานที่ท่องเที่ยว อันตรายต่อสุขภาพ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และ
เป็นต้น ซึ่งอาจเป็นจุดเสี่ยงที่รองรับน้ำเสียที่เกิด การประกอบกิจการปศุสัตว์ที่ก่อให้เกิดของเสีย
จากกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น รวมทั้งบริบทของ และน้ำเสีย
บริเวณโดยรอบแม่น้ำน่านเป็นพนที่ชุมชนสลับ 2. ส่งเสริมและรณรงค์การจัดการน้ำเสีย ณ
ื้
กับพื้นที่เกษตรกรรมตลอดลำน้ำ ทำให้แม่น้ำ แหล่งกำเนิด เช่น การส่งเสริมการติดตั้งถังดัก
น่าน ต้องรองรับน้ำเสียที่เกิดจากภาคเกษตรกรรม ไขมันจากบ้านเรือนประชาชน และกิจการ
และรองรับน้ำท่วมขังในช่วงฤดูน้ำหลากของ ประเภทร้านอาหาร
ทุกปี ซึ่งเป็นการเพิ่มปริมาณความสกปรกใน 3. การสนับสนุนและผลักดันให้องค์กรปกครอง
รูปแบบสารอินทรีย์ให้กับลำน้ำ ส่วนท้องถิ่นออกข้อบัญญัติให้ร้านอาหาร
ตลาดสด ศูนย์อาหาร มีการติดตั้งบ่อดักไขมัน
หรือระบบบำบัดน้ำเสียแบบติดกับที่
4. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เข้มงวดการ
บังคับใช้กฎหมายกับกิจการที่เป็นอันตรายต่อ
สุขภาพ ตามพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ.
2535 และกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง
ดำเนินการติดตามและตรวจสอบแหล่งกำเนิด
มลพิษ และการบังคับใช้กฎหมาย
5. บริเวณศาสนสถาน และสถานที่ท่องเที่ยว
ควรมีแนวทางหรือมาตรการจำกัดปริมาณ
การให้อาหารปลาในบริเวณแพให้อาหารปลา
เพื่อลดการเพิ่มปริมาณความสกปรกในรูป
สารอินทรีย์ให้กับลำน้ำ รวมทั้งควรมีการจัดการ
น้ำเสียเบื้องต้นของร้านค้า ร้านจำหน่ายอาหาร
ที่อยู่ในบริเวณดังกล่าวไม่ให้มีการทิ้งเศษอาหาร
และน้ำเสียลงสู่แหล่งน้ำโดยตรง
แม่น้ำเจ้าพระยา 1. จุดตรวจวัด CH30 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควรกำกับ
2. จุดตรวจวัด CH32 ติดตาม การดำเนินงานบริหารจัดการน้ำเสีย
บริเวณที่มีปัญหา และสาเหตุปัญหา ชุมชนอย่างใกล้ชิด และกำชับผู้ดูแลรับผิดชอบ
คุณภาพน้ำเสื่อมโทรมพบมีแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่ งานระบบบำบัดน้ำเสียรวมชุมชนให้เดินระบบ
สำคัญตั้งอยู่บริเวณริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา อาทิ อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ รวมทั้งควร
เช่น โรงงานอุตสาหกรรม ร้านอาหารแหล่งชุมชน ดำเนินการขยายแนวท่อรวบรวมน้ำเสียให้
โรงเรียน วัด เป็นต้น ทั้งนี้พื้นที่ตำบลนครสวรรค์ ครอบคลุมพื้นที่
ออกซึ่งอยู่ในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์แต่แนว 2. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการติดตามและ
เส้นท่อรวบรวมน้ำเสียชุมชนไม่ครอบคลุมถึง ตรวจสอบแหล่งกำเนิดมลพิษ และบังคับใช้
บริเวณดังกล่าว ประกอบกับพบปลายท่อระบาย กฎหมายอย่างเข้มงวด
รายงานสถานการณ์คุณภาพน ้าแหล่งน ้าผิวดิน ประจ าปงบประมาณ พ.ศ. 2565
ี
ส ำนักงำนสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 4 (นครสวรรค์)