Page 30 - 2. รายงานสถานการณ์คุณภาพน้ำผิวดิน สคพ.4 _2565
P. 30

26

            ตารางที่ 4.1 บริเวณที่มีปัญหาคุณภาพน้ำเสื่อมโทรม ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาคุณภาพน้ำเสื่อมโทรม (ต่อ)


              แหล่งน้ำผิวดิน       บริเวณที่มีปัญหา และสาเหตุปัญหา       ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา
                                         คุณภาพน้ำเสื่อมโทรม
             แม่น้ำเจ้าพระยา  น้ำเสียชุมชนปล่อยน้ำเสียชุมชนลงสู่แม่น้ำ 3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงาน

             (ต่อ)            เจ้าพระยาโดยตรง                           ต่าง ๆ ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ประชาชน
                                                                        ดูแล รักษาระบบนิเวศน์ของแหล่งน้ำ กำจัด
                                                                        วัชพืช กำจัดขยะมูลฝอย ขุดลอกตะกอนดิน
                                                                        และควรมีการกำหนดมาตรการในการเปิด-ปิด

                                                                        ประตูระบายน้ำ ตลอดจนการส่งเสริมการทำ
                                                                        เกษตรอินทรีย์ และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่เป็น
                                                                        มิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
             แม่น้ำสะแกกรัง   1. จุดตรวจวัด SA01                        1. เทศบาลเมืองอุทัยธานี อาจจะพิจารณาการ

                              2. จุดตรวจวัด SA02                        ก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนแบบติดกับที่
                              3. จุดตรวจวัด SA03                        (Onsite Treatment) ไปพลางก่อน
                              4. จุดตรวจวัด SA04                        2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น ๆ ที่มีขนาด

                              5. จุดตรวจวัด SA05                        ใหญ่หรือมีปริมาณประชากรตั้งแต่ 5,000 คน
                                   จากการพิจารณาในทุกจุดที่พบปัญหา ขึ้นไป ควรขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก
                              คุณภาพน้ำรุนแรงนั้น อาจเนื่องจากสภาพ  แหล่งต่าง ๆ เพื่อก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสีย
                              โดยธรรมชาติของแม่น้ำสะแกกรังมีสภาพการ แบบติดกับที่ (On-Site Treatment)

                              ไหลค่อนข้างน้อย มีปริมาณน้ำน้อย น้ำมีสภาพ 3. ส่งเสริมและรณรงค์การจัดการน้ำเสีย ณ
                              นิ่ง ประกอบกับปัจจุบันเทศบาลเมืองอุทัยธานี แหล่งกำเนิด เช่น การส่งเสริมการติดตั้งถังดัก
                              อยู่ระหว่างการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียรวม ไขมันจากบ้านเรือน
                              ชุมชน ส่งผลให้ปริมาณน้ำเสียที่เกิดจากกิจกรรม 4. สนับสนุนและผลักดันให้องค์กรปกครองส่วน

                              ภายในชุมชนไหลลงสู่แม่น้ำสะแกกรังโดยตรง  ท้องถิ่นออกข้อบัญญัติให้ร้านอาหาร ตลาดสด
                              รวมทั้งพบแหล่งกำเนิดน้ำเสียจำนวนมากในช่วง ศูนย์อาหาร มีการติดตั้งบ่อดักไขมันหรือระบบ
                              ที่แม่น้ำสะแกกรังไหลผ่านชุมชนช่วงกลางเมือง  บำบัดน้ำเสียแบบติดกับที่
                              อาทิเช่น ตลาดสด ร้านอาหาร รีสอร์ท ชุมชน 5. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องดำเนินการติดตาม

                              เรือนแพ และการเลี้ยงปลาในกระชัง ซึ่งเป็นการ และตรวจสอบแหล่งกำเนิดมลพิษและการ
                              เพิ่มปริมาณความสกปรกในรูปแบบสารอินทรีย์ บังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด
                              ให้กับลำน้ำจนเกินขีดความสามารถการรองรับได้ 6. ส่งเสริมให้ชุมชนเรือนแพจัดการน้ำเสีย ณ

                              ของแม่น้ำสะแกกรัง เกิดการเน่าเสียตลอดลำน้ำ  แหล่งกำเนิด เช่น การส่งเสริมการติดตั้ง ถังดัก
                                                                        ไขมันจากบ้านเรือน และจัดการสิ่งปฏิกูลอย่าง
                                                                        ถูกหลักสุขาภิบาล
                                                                        7. การดูแลรักษาระบบนิเวศน์ของลำน้ำ โดย
                                                                        การกำจัดวัชพืช กำจัดขยะมูลฝอย และการขุด

                                                                        ลอกตะกอนดิน




                                                                    ี
                          รายงานสถานการณ์คุณภาพน ้าแหล่งน ้าผิวดิน ประจ าปงบประมาณ พ.ศ. 2565
                    ส ำนักงำนสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 4 (นครสวรรค์)
   25   26   27   28   29   30   31   32   33