Page 31 - 2. รายงานสถานการณ์คุณภาพน้ำผิวดิน สคพ.4 _2565
P. 31

27

            ตารางที่ 4.1 บริเวณที่มีปัญหาคุณภาพน้ำเสื่อมโทรม ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาคุณภาพน้ำเสื่อมโทรม (ต่อ)


              แหล่งน้ำผิวดิน       บริเวณที่มีปัญหา และสาเหตุปัญหา       ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา
                                         คุณภาพน้ำเสื่อมโทรม
                บึงบอระเพ็ด   1. จุดตรวจวัด BP01                        1. ส่งเสริมให้ชุมชนและประชาชนดูแลรักษา

                                                                                                             ื
                              2. จุดตรวจวัด BP02                        ระบบนิเวศน์ของลำน้ำ โดยการกำจัดวัชพช
                              3. จุดตรวจวัด BP03                        กำจัดขยะมูลฝอย และการขุดลอกตะกอนดิน
                              4. จุดตรวจวัด BP04                        2. ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่เป็นมิตรกับ
                              5. จุดตรวจวัด BP05                        สิ่งแวดล้อม

                                                                    ็
                                   เนื่องจากพื้นที่โดยรอบบึงบอระเพด  3. ส่งเสริมภาคเกษตรกรรมให้ใช้แนวทาง
                              ส่วนใหญ่ เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ทำนาข้าว   เกษตรอินทรีย์ หรือการดำเนินกิจกรรมและ
                              ทำนาบัว การปลูกพืชสวน และบ่อเพาะเลี้ยง เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
                              สัตว์น้ำรวมทั้งในช่วงเดือนตุลาคมจนถึงเดือน

                              พฤศจิกายนของทุกปี จะเกิดปัญหาน้ำท่วมขัง
                              ในหลายพื้นที่โดยรอบบึงบอระเพ็ด ทำให้เกิด
                              การเน่าเปื่อยของซากพืชและวัชพืชโดยรอบ

                              บึงบอระเพ็ด และบึงบอระเพ็ดต้องรองรับน้ำ
                              ที่เกิดจากการท่วมขังจากภาคเกษตรกรรมและ
                              พื้นที่ชุมชนในปริมาณมาก
                  บึงสีไฟ     1. จุดตรวจวัด BS01                        1. ส่งเสริมและรณรงค์การจัดการน้ำเสีย ณ

                              2. จุดตรวจวัด BS02                        แหล่งกำเนิด เช่น การส่งเสริมการติดตั้งถังดัก
                              3. จุดตรวจวัด BS03                        ไขมันจากบ้านเรือน
                              4. จุดตรวจวัด BS04                        2. ผลักดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นออก
                              5. จุดตรวจวัด BS05                        ข้อบัญญัติให้ร้านอาหาร ตลาดสด ศูนย์อาหาร

                                   เนื่องจากพื้นที่โดยรอบบึงสีไฟส่วนหนึ่ง  มีการติดตั้งบ่อดักไขมันหรือระบบบำบัดน้ำเสีย
                              เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ทำนาข้าว ทำนาบัว ปลูก แบบติดกับท  ี่
                              พืชสวน เลี้ยงสัตว์น้ำ และเป็นสถานที่พักผ่อน 3. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เข้มงวดการบังคับใช้
                              หย่อนใจ มีกิจกรรมการปล่อยปลา และให้อาหาร กฎหมายกับกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ

                              ปลา รวมทั้งพบวัชพืชน้ำ สาหร่าย กระจายอยู่ ตามพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535
                                                                 ี
                                                             ื้
                              ทั่วไปบนผิวหน้าน้ำจำนวนมาก และพนที่อกส่วน และกฎหมายอื่นๆที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งดำเนินการ
                              หนึ่งเป็นพื้นที่ชุมชนพบบ้านเรือนของประชาชน ติดตามและตรวจสอบแหล่งกำเนิดมลพิษและ
                              ตั้งอยู่โดยรอบซึ่งอาจเป็นจุดเสี่ยงในการรองรับ บังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด
                              น้ำเสียจากกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้น รวมทั้ง 4. ส่งเสริมภาคเกษตรกรรมให้ใช้แนวทาง
                              ธรรมชาติของบึงสีไฟเป็นแหล่งน้ำนิ่งไม่มีการ เกษตรอินทรีย์ หรือการดำเนินกิจกรรมและ
                              ไหลเวียนถ่ายเทของน้ำมีการเน่าเปื่อยของพืชน้ำ เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
                              ตลอดทั้งปี






                          รายงานสถานการณ์คุณภาพน ้าแหล่งน ้าผิวดิน ประจ าปงบประมาณ พ.ศ. 2565
                                                                    ี
                    ส ำนักงำนสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 4 (นครสวรรค์)
   26   27   28   29   30   31   32   33